การเมืองในทัศนะของอริสโตเติ้ล

    แปลและเรียบเรียงจากเฮย์ควีน
         จากการทำงานด้วยจริยธรรมของอริสโตเติ้ล เขาเชื่อว่าพื้นฐานของชนชั้นกลางเป็นพื้นฐานที่ดีที่สุด ดังนั้นจึงไม่ประหลาดใจว่าเขาค้นพบกฎของชนชั้นกลางที่เหมาะสมที่สุดในการเป็นรัฐบาล ไม่ว่าคนยากจนหรือคนร่ำรวยมาก   คนชั้นกลางมีการรับฟังเหตุผลได้มากกว่า ตำรวจมีจุดประสงค์ทำให้สังคมได้มีมิตรภาพระหว่างมนุษย์ที่มีอิสรเสรีและมีความเท่าเทียมกัน  ชนชั้นกลางมีการผสมผสานระหว่างชนชั้นได้ดีกว่า ดังนั้นเป็นที่ประจักษ์ว่าระบบการเมืองในทัศนะของอริสโตเติ้ลเป็นสังคมที่อำนาจอยู่กับคนชั้นกลางและเป็นรัฐบาลที่ดีในการบรรลุเป้าหมายเมื่อมีชนชั้นกลางจำนวนมาก มากจนพบที่จะมีความเข้มแข้งมากกว่าคนรวยสุดกู่และคนจนสุดแย่ เมื่อมีเพียงคนไม่มากที่เป็นเจ้าของทรัพย์สินมากมายก่ายกอง แต่อีกชนชั้นหนึ่งแทบจะไม่มีอะไรเลย  ผลก็คงมีระบบประชาธิปไตยที่เป็นเลิศ และหรือระบบคณาธิปไตยที่ไม่ผสมผสานจนถึงระบบทรราชย์   อริสโตเติ้ลได้ชี้ถึงความแตกต่างถึงรูปแบบรัฐธรรมนูญโดยตรงในฐานะเป็นระบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ และระบบอภิชนาธิปไตย   ในทำนองเดียวกัน เขากล่าวว่าทรราชย์,คณาธิปไตย และประชาธิปไตยในฐานะที่ทำให้หลงผิด ในขณะที่การปกครองแบบทรราชย์คือสิ่งที่ถูกปกครองจากการยอมทำตามหรือเชื่อฟัง แต่แบบที่สองเป็นการรักษาผลประโยชน์ของชนชั้นปกครอง อริสโตเติ้ลขนานนามรัฐบาลที่ดีที่สุดว่าเป็นระบบการเมืองที่ดี (Polity)  ซึ่งเป็นการผสมระหว่างประชาธิปไตยกับคณาธิปไตย เพราะประชาธิปไตยเป็นชื่อที่เรียกว่าเป็นระบบการเมืองที่อ้างถึงประชาชน ในขณะที่ระบบคณาธิปไตยเป็นชื่อที่ใช้เรียกว่าเป็นการเมืองแบบอภิชนาธิปไตย เช่นตำรวจมีอำนาจใหญ่ขึ้น ผู้ชายอาจได้รับประโยชน์ในการเป็นรัฐบาลมากกว่า ระบบการเมืองที่ลดการแบ่งฝักแบ่งฝ่ายให้น้อยที่สุดในรัฐบาลเรียกว่าระบบการเมืองแบบประชาธิปไตย  พวกนิยมอนาธิปไตย เมื่อประชาชนมีการศึกษาดีขึ้น และแต่ละคนมีอิสรภาพเหนือประโยชน์ของตนเอง และประชาธิปไตยเป็นสิ่งที่เป็นกฎเกณฑ์อย่างเหนือระบบที่มีความแตกต่างกันมาก ซึ่งยังคงเหมือนกัน   ลัทธิอนาธิปไตย และประชาธิปไตยทั้งสองระบบต่างดิ้นรนเพื่ออิสรภาพทีมีความแตกต่างกันแต่เหมือนกันมาก  เมื่อการศึกษาของรัฐไม่จำเป็นต้องมีรัฐบาลใด ๆ  การกระทำของบุคคลคงจะนำไปสู่การต่อสู้ของชีวิตในปัจเจกชนของสังคม อย่างไรก็ตามระบบอนาธิปไตยได้ทำให้เป็นที่ประจักษ์แจ้งและดึงดูดใจได้ดีแต่เป็นทฤษฎีที่เป็นไปไม่ได้  เพราะมันเดินทางโดยขาดความร่วมมือและข้อเท็จจริงที่ว่าสังคมคงไปไม่ได้กับอนาธิปไตย   ประชาธิปไตยจึงมีการนำมาใช้ในทางปฏิบัติในทุกวันนี้ และหลายประเทศประสบความสำเร็จ บางประเทศล้มเหลว อันเนื่องจากประชาธิปไตยแบบนายทุน ในขณะที่ผู้นำตัดสินใจและครอบงำประชาชนในการทำให้เชื่อว่ามันจะทำให้สังคมดีขึ้นกว่าเดิม  ในเมื่อความเป็นจริงแล้วผลประโยชน์ล้วนตกเป็นของเขา ประชาธิปไตยที่เรามีอยู่ซึ่งจะเปลี่ยนเวอร์ชั่นการเมืองกลับมาเป็นระบบที่ล้าหลังได้  ซึ่งอาจทำให้ประชาธิปไตยกลายเป็นอนาธิปไตยในสองวิถีทาง คือ อนาธิปไตยที่ดีกว่า เมื่อประชาชนได้รับการศึกษาดีขึ้น และคงยึดถือในสิ่งที่ถูกปลูกฝังในธรรมชาติ และลักษณะทางการศึกษาที่เกิดจากตัวเขาเอง หรือที่เป็นอนาธิปไตยแบบชั่วร้ายซึ่งเป็นไปอย่างที่พลาโต้กล่าวคือ- เป็นการประทุษร้ายสังคมทั้งหมด
         โดยสรุป แนวคิดของอริสโตเติ้ลที่มองว่าชนชั้นกลางมีบทบาทสำคัญที่สุดในการปกครองแบบประชาธิปไตย แต่สำหรับประเทศไทยแล้ว การเมืองการปกครองเป็นลักษณะผสมผสานระหว่างประชาธิปไตยกับอภิชนาธิปไตย ซึ่งบทบาทชนชั้นกลางได้ลดน้อยลงไป กลายเป็นประชาธิปไตยของรากหญ้า (Grassroot Democracy) ซึ่งสังคมในยุคอริสโตเติ้ลเป็นสังคมแบบโบราณ  แต่เป็นข้อสมมติฐานที่ถูกต้องในยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม แต่ยุคข้อมูลข่าวสารนั้นหรือยุคแห่งสังคมอุดมปัญญาทำให้ชนชั้นรากหญ้ากลับมีบทบาททางการเรียกร้องประชาธิปไตยอย่างมากมาย และนับเป็นประวัติศาสตร์ของประเทศไทยที่กลายเป็นประเทศแม่แบบประชาธิปไตยโดยชนชั้นล่างของสังคม โดยมีขบวนการเคลื่อนไหวประชาธิปไตยแบบรากหญ้าอย่างไม่เคยปรากฎมาก่อนในประวัติศาสตร์ ซึ่งชนชั้นนำของไทยไม่ควรประมาทกับความต้องการที่มีกระแสอย่างแรงกล้า โดยไปติดยึดกับกรอบความคิดเดิม  ๆในระบบอำนาจนิยม ซึ่งเป็นเรื่องพ้นสมัยไปแล้ว


ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ระบบการเมืองที่ดีเหมือนปลาในอ่างแก้วที่มองเห็นตัวปลาชัดเจน

108 คำคมขงเบ้ง คำคมสอนใจ จากขงเบ้ง

ตัวแบบงบประมาณผูกพัน (Beyond Budgeting) ตอนที่หนึ่ง