บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กุมภาพันธ์, 2016

ประวัติวิทยาลัยทองสุข

ประวัติหน่วยงาน (วิทยาลัยทองสุข)      วิทยาลัยทองสุขเป็นสถาบันระดับอุดมศึกษาเอกชน   กลุ่ม ข สถาบันที่เน้นระดับปริญญาตรี  สังกัดคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการมีวัตถุประสงค์ในการจัดตั้งเพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และ ร่วมแบ่งเบาภาระของรัฐในการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาโดยมุ่งพัฒนานักศึกษา ให้เป็นบัณฑิตที่ถึงพร้อมด้วย “ คุณภาพและคุณธรรม ” ได้รับการอนุมัติให้จัดตั้งเมื่อวันที่   10   ตุลาคม   2538   ให้เป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งที่   30   ของประเทศไทย โดยมี ดร . พรชัย อรัณยกานนท์ เป็นผู้รับใบอนุญาตมีการเปิดการเรียนการสอนตามลำดับหลักสูตร ดังนี้   ปีการศึกษา   2538   เปิดสอนหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต มี   5   สาขาวิชา ได้แก่ สาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาการตลาด สาขาวิชาการเงินและการธนาคาร สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ และสาขาวิชาการจัดการ   ปีการศึกษา   2539   ได้เปิดสอนหลักสูตรบริหารธุรกิจ   2   ปีต่อเนื่อง   ( ภาคปกติ ภาคค่ำ / ภาคสมทบ )   มี   5   สาขาวิชา ได้แก่ สาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาการตลาด สาขาวิชาการเงินและการธนาคาร สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ และสาขาวิชาการจัดการ   ปีการศึ

ระเบียบวิธีวิจัย (การออกแบบวิจัย การเลือก subject, การเก็บข้อมุล,การวิเคราะห์ข้อมูล

ระเบียบวิธีวิจัย                   การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยมุ่งศึกษา "กลยุทธ์ป้องกันเครือข่ายกลุ่มอิทธิพลที่นำไปสู่การทุจริตคอรัปชั่น : ศึกษาภาคเศรษฐกิจ 4 ภาค"   การวิจัยนี้เป็นการพิจารณาถึงกลยุทธ์ในการป้องกันการรวมกลุ่มของผู้มีอิทธิพลในรูปแบบต่าง ๆ เช่นกลุ่มผลประโยชน์, กลุ่มล๊อบบี้ยีสต์, กลุ่มพวกพ้องเป็นใจ (favoritism) ฯลฯ  เพื่อแสวงหากลยุทธ์ในการป้องกันปัญหาที่จะเกิดขึ้นเพื่อให้การทุจริตคอรัปชั่นน้อยลง การออกแบบงานวิจัย                 เป็นการศึกษาวิจัยเพื่อใช้ในการพรรณนา โดยใช้การวิจัยที่เลือกประเด็นของภาคเศรษฐกิจทั้งหมด 4 ภาคคือการทุจริตในพลังงาน, การศึกษา,การคมนาคม, รวมถึงทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม โดยเน้นปัญหาสำคัญของแต่ละภาคเศรษฐกิจที่เป็นปรากฎการณ์หรือข้อเท็จจริงที่ปรากฎในสังคมหรือสื่อมวลชนต่าง ๆ ถึงปัญหาการทุจริตคอรัปชั่น  โดยใช้ผู้ให้ข้อมูลสำคัญที่เกี่ยวข้องกับภาคเศรษฐกิจนั้น ๆ โดยวิธีการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (In-depth interview) ในภาคสนาม และการศึกษาจากเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อนำมาบูรนาการอย่างเป็นระบบ ประชากรกลุ่มเป้าหมาย                 ประชากรกลุ่มเป้าห

12 สิ่งที่คนที่สำเร็จในชีวิต “ไม่ทำเด็ดขาด

12 สิ่งที่คนที่สำเร็จในชีวิต “ไม่ทำเด็ดขาด” KIITDOO in  Life Hacks February 22, 2016 Like Kiitdoo on Facebook ถ้าคุณเป็นอีกคนที่มองหา “ความสำเร็จ” ในชีวิต คุณต้องการใช้ “ชีวิต” ให้คุ้มที่สุด ให้สมกับที่เกิดมา ลองมาดูสิ่งเหล่านี้ที่คนที่ประสบความสำเร็จในชีวิตเลือกที่จะ “ไม่ทำเด็ดขาด” กัน 1. ไม่ให้ใครนิยามคำว่า “สำเร็จ” แทนพวกเขาบางคนเลือก “เงิน” คือคำนิยามของความสำเร็จ บางคนเลือกชีวิตที่สงบ บางคนเลือกที่จะเปลี่ยนแปลงโลก ทุกอย่าง ไม่มีอะไรผิด และคนเหล่านี้จะไม่ทำตามคนอื่น โดยที่ไม่ถามใจตัวเอง ว่าอะไรคือสิ่งที่เขาต้องการ และจะไม่ยอมให้ใครมานิยามความสำเร็จแทนเขา 2. ไม่ยอมรับว่าสิ่งนั้นคือ “ความจริง” จนกว่าจะพิสูจน์ หรือตั้งคำถามก่อน พวกเขาเป็นนักวิเคราะห์ นักคิด เพียงแค่มีคนบอกว่าเรื่องนี้คือเรื่องจริง หรือ สังคมบอกว่ามันคือเรื่องจริง เขาจะไม่ปักใจเชื่อเลยซะทีเดียว แต

การล๊อบบี้,การติดสินบนและการคอรัปชั่น

             การล๊อบบี้และคอรัปชั่นเป็นเรื่องผลประโยชน์สาธารณะ และมีงานวิจัยที่มีมากมาย คำถามจึงมีว่าทำไมภาคธุรกิจจึงนิยมเลือกวิธีการล๊อบบี้ หรือการติดสินบน  และความสำคัญของการเลือกสรรวิธีการยังหาคำตอบชัดเจนไม่ได้              มีคำนิยามที่ว่าการล๊อบบี้คือรูปแบบของการสนับสนุนรณรงค์ และมีการล๊อบบี้ข้ามประเทศ หรือการใช้อิทธิพลโดยผ่านปัจจัยอื่น ๆ ในลักษณะที่เป็นกิจกรรมมีจุดประสงค์เพื่อแก้ไขกฎหมายหรือนโยบายที่มีอยู่ในขณะนั้น    ในขณะที่การติดสินบนเป็นความพยายามที่จะเข้าถึงกฎหมายหรือนโยบายที่กำลังนำมาใช้อยู่ในปัจจุบัน              บริษัทในประเทศที่กำลังพัฒนามักจ่ายค่าสินบนเพื่อลดข้อจำกัดของกฎระเบียบ   ในขณะที่ประเทศที่พัฒนาแล้วมักมีใจโอนเอียงที่จะล๊อบบี้รัฐบาลให้ช่วยแก้กฎหมายที่จะมีผลกระทบต่อพวกเขา              การติดสินบนและการล๊อบบี้ที่แตกต่างกันในมิติสำคัญ ประการแรกการล๊อบบี้เป็นเรื่องเกี่ยวกับกฎหมายและกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับระเบียบในหลายประเทศ    ในขณะที่การติดสินบนไม่ใช่  ประการที่สองการเปลี่ยนแปลงกฎระเบียบเป็นผลมาจากการล๊อบบี้ซึ่งจะมีผลกระทบต่อทุกบริษัททั้งหมด   ในขณะที่การติดสินบน