บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก พฤศจิกายน, 2011

สิ่งที่แอบอ้างความชอบธรรมในทางผิด ๆ

ในด้านประชาชน     "ประชาชนยากจน เป็นคนไร้การศึกษาหรือเป็นคนโง่"     คำถาม  "ทำไมรัฐบาลไม่ทำให้เขาฉลาด หากราษฎรโง่แล้วคนที่มีโอกาสเป็นรัฐบาลทำไมไม่ทำให้เขาฉลาด    "ประชาชนถูกชักจูงง่าย ซื้อง่าย เชื่อง่าย"     คำถาม "ทำไมประชาชนจำนวนมากถึงชอบเพราะเหตุใด"    "ประชาชนได้แต่เรียกร้อง แต่ไม่ทำหน้าที่ของตนเอง หรือไม่รักษาประเทศชาติ"    คำถาม "เมื่อประชาชนเป็นจำนวนมากออกมาคัดค้านอำนาจรัฐที่ไม่ได้มาอย่างถูกต้อง ไม่ใช่เป็นการทำหน้าที่รักษาประชาธิปไตยหรือ และคำว่าประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศมิใช่เป็นชาติหรือ หรือคำว่่าชาติเป็นคำพูดลอย ๆ ไม่เชื่อมโยงกับประชาชนใช่ใหม? ในด้านฝ่ายค้าน       "ประชาชนบางกลุ่มมักทำเพื่อคนคนเดียว " คำถาม  "ไม่คิดหรือว่าประชาชนเขาทำเพื่อเขาเอง เพียงแต่ว่่าบุคคลคนเดียวนั้นอาจทำประโยชน์ให้กับประชาชน จึงทำให้เขายอมรับความเป็นผู้นำใช่หรือไม่?     "พวกที่ออกมาเรียกร้องรัฐธรรมนูญ หรือเรียกร้องประชาธิปไตย เป้นผู้ก่อการร้าย" คำถาม "คนที่แสดงความคิดเห็นแตกต่าง หรือมีความเห้นไม่ตรงกัน ก็จะกลายเป็

กลอนเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ตอน่ที่ 51

         การปรับโครงสร้างองค์การการทำงาน    เป้าหมายการบริหารสมัยใหม่ ตอบสนองเศรษฐกิจฐานความรู้ไซร้                ในภายใต้การแข่งขันทวีคูณ ในสังคมข่าวสารข้อมูลพลวัตร                       อันอุ่บัติในปีสองศูนย์หนึ่งศูนย์ เพื่อเป้าหมายอียูเพื่อเพิ่มพูน                       ที่เทิดทูนกลยุทธ์ลิสบอน         จากแผนปฏิบัติที่เกื้้อกูล                      ที่ค้ำคูณกฎเกณฑ์บริการกัน ในพลเมืองและเพิ่มผลิตภัณฑ์                      เพื่อประกันสร้างสรรค์เศรษฐกิจ กุญแจสำคัญรื้อปรับของโครงสร้าง                 ในองค์กรการทำงานเพื่อพิชิต โดยเสริมสร้างเศรษฐกิจอย่างทั่วทิศ               เพื่อสะกิดฐานความรู้ในโลกา         ความสามารถเติบโตเศรษฐกิจ              เพื่อลิขิตความยั่งยืนประชาคม เพื่อยั่งยืนแนบแน่นแก่่สังคม                        สิ่งสั้่งสมการงานการริเริ่ม จากความเชื่อแพร่หลายประดังมา                  แสวงหาการปรับโครงสร้างเสริม เพื่อปรับปรุงผลงานแนวคิดเดิม                    ซึ่งต่อเติมตั้งแต่ศตวรรษที่สิบแปด         ฟูโก้ (1991)เปลี่ยนจากวางกฎสู่ปกครอง  โดยเกี่ยวดองนำทาง,อำนวย

รัฐบาลเงา หรือรัฐบาลสองนครา

รูปภาพ
                         หากประเทศใดที่มีการปกครองแบบรัฐซ้อนรัฐนั้น หากกระทำไปในแง่บวกก็จะเป็นตัวช่วยที่ดีในการบริหารกิจการบ้านเมือง  แต่หากว่ารัฐซ้อนรัฐนั้นกระทำเพืยงเพื่อหวังผลทางอำนาจนั้นก็จะเป็นการบริหารงานแบบชิงด้ามจับทัพพี    รัฐบาลที่ได้อำนาจมาจากประชาชนหรือเป็นระบบประชาธิปไตย ผู้บริหารรัฐควรมีอำนาจเต็มในการบริหารกิจการบ้านเมือง ไม่มีการแทรกแซงอำนาจรัฐ ไม่ว่าจะกระทำการเปลี่ยนแปลงใด ๆ ก็ตามก็ย่อมเป็นสิทธิและการใช้อำนาจอย่างชอบธรรม เพราะเราคงมองรัฐบาลที่ผลงานมากกว่่าการยึดติดที่ตัวบุคคล  การบริหารรัฐบาลที่มีลักษณะขั้วอำนาจสองขั้วอำนาจ คืออำนาจของประชาชนกับอำนาจที่ซ่อนเร้นหรืออำนาจแฝงเร้นที่เข้ามาแทรกแซงกิจการบ้านเมือง แลเะไม่ยอมรับความชอบธรรมของเสียงประชาชนก็ย่่อมแสดงว่าบุคคลที่มีความคิดเช่นนั้นเป็นบุคคลที่ไม่ได้รักประชาธิปไตย หรือไม่ได้ถือประโยชน์ของราษฎรเป็นสิ่งสำคัญกว่าระบบอำนาจแบบคณาธิปไตยหรืออภิชนาธิปไตย  ซึ่งเป็นการต่อสู้ของอำนาจระบบคุณธรรมตามระบบประชาธิปไตยกับการต่อสู้กับระบบอุปถัมภ์ที่่ใช้ความเป็นอภิสิทธิชนมากกว่าคนอื่น ๆ จนกระทั่งสังคมขาดความยุติธรรม กลายเป็นสังคมเล่น