บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กรกฎาคม, 2013

ข้อวิจารณ์นโยบายเกี่ยวกับกระทรวงศึกษาธิการของผู้นำการศึกษาในยุคปัจจุบัน

                         สำหรับทัศนะของผมขอวิจารณ์นโยบายโดยใช้หลัก swot analysisและ 7'sมาใช้ในการวิจารณ์อันเป็นประโยชน์ในการปฏิรูปการศึกษานะครับ 1. ในด้านจุดแข็ง (Strengh) จุดแข็งของนโยบายการศึกษาของท่านรัฐมนตรีคนใหม่นั้นคือเน้นการพัฒนาคน (human developmen t)และการพัฒนาการศึกษาเพื่อความได้เปรียบเชิงแข่งขัน พยายามทุ่มเทสรรพกำลังเพื่อใช้บุคลากร หรือทุกภาคส่วนมาแก้ไขปัญหา แต่ปัญหาว่าการพัฒนาจุดแข็งของเรานั้นยังอยู่ในสภาพจุดอ่อนอยู่ครับ เพราะหลักการพัฒนาต้องพัฒนาจุดแข็งของการศึกษา แต่ในขณะนี้ระบบการศึกษาเรามีจุดอ่อนที่เรื่องภาวะผู้นำทางการศึกษาซึ่งเป็นหัวใจสำคัญต่อการศึกษา หากไม่ทำการปฏิรูปการศึกษาโดยการปรับเปลี่ยนหรือพัฒนาภาวะผู้นำทางการศึกษาแล้วย่อมยากที่จะเข็นปฏิรปไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ นโยบายที่เขียนไปก็เพียงดูดีในด้านเนื้อหาสาระของนโยบายแต่ในการปฏิบัติจริงไม่สามารถสัมฤทธิผลได้ หากไม่ได้ปรับเปลี่ยนองค์การให้ทันสมัยพัฒนา (transformational organization) เกรงว่าการพัฒนาจะกลายเป็นแค่เหล้าเก่าในขวดใหมเท่านั้นเอง 2. ในด้านจุดอ่อน (weakness) พบว่ายังไม่มีกลไกปฏิรูปที่ทำให้มั่นใจว่าระบบก

การศึกษาไทยน่าเป็นห่วง :อาการที่ส่อเค้าว่ามีปัญหา?

สิ่งที่่สะท้อนทางการศึกษาไทยที ่มองเห็นแบบกว้าง ๆคือ 1. การศึกษาไทยไม่ได้ปลูกฝังหน้าที ่พลเมืองศีลธรรมอย่างดีพอ หลังจากโรงเรียนแยกตัวจากวัด ทำให้เราใช้เสรีภาพกันอย่างมากม ายและไม่รู้จักรักษาสิทธิของผุ้ อื่น หรืออาจจะทำอะไรได้ตามใจ เพราะเสรีภาพมิใช่เรื่องทำอะไรไ ด้ตามใจ แต่ต้องพิจารณาว่าสิ่งใช้เสรีภา พนั้นจะต้องไม่กระทบหรือละเมิดส ิทธิ หรือเสรีภาพของผุ้อื่น 2. การศึกษาไทยมุ่งการเรียนแบบอ่าน ,ท่องจำ,อยู่แต่ในตำราเพื่อไปสอ บ แต่ไม่ได้ศึกษาชิวิตจริงที่อยู่ นอกเหนือห้องเรียน ทำให้นักเรียน,นักศึกษาไทยประยุ กต์ไม่เก่ง เมื่อมาทำงานต้องใช้วเลาปรับตัว มากเกินไป 3. การศึกษาไทยมุ่งสอนให้เป็นคนที่ เรียนเก่ง, สอบเข้าโรงเรียนดัง ๆ หรือได้รับปริญญาสูง ๆ แต่ไม่ได้นำความรู้มาช่วยเหลือพ ัฒนาบ้านเมือง กลายเป็นการศึกษารับใช้ตนเอง ประกอบกับผลตอบแทนไม่สอดคล้องต่ อการเรียน ทำให้ผู้เรียนมุ่งที่จะหาเงินเย อะ ๆ เพื่อตอบสนองต่อตนเองมากกว่าจะร ับใช้สังคม หรือมีความรับผิดชอบต่อสังคมที่ เขาเป็นอยู่ เป็นการศึกษาที่มุ่งเอาตัวรอด และก่อให้เกิดความเห็นแก่ตัว 4. การศึกษาไทยขาดคุณภาพอันเนื่องจ ากการประเิมินคุณภาพทางการศึ