Empirical Rationale As opposed to simply looking at organizational outcomes (satisfaction, extra effort, and effectiveness) in a classroom setting, we opine that it is important to examine more traditional learning outcomes. The outcomes we chose to assess in our study include: cognitive learning, affective learning, state motivation, and student communication satisfaction. Cognitive learning ranges from the simple retention of information to the complex synthesis of material (Bloom, Hastings, & Madaus, 1971). Affective learning involves student feelings, emotions, and degrees of acceptance toward the subject matter (Krathwohl, Bloom, & Masia, 1964). State motivation to learn refers to student attempts to obtain academic knowledge or skills from classroom activities by finding these activities meaningful (Brophy, 1987). Student communication satisfaction refers to an affective response to the accomplishment of communication goals...
บทความ
กำลังแสดงโพสต์ที่มีป้ายกำกับ แบบ
กรอบแนวคิดในการออกแบบความคิดสำหรับการจัดการความรู้
- รับลิงก์
- X
- อีเมล
- แอปอื่นๆ
1. คำนำ การออกแบบความคิดคือองค์ความรู้ที่เข้มงวดเกี่ยวกับกระบวนการออกแบบในฐานะที่เป็นปัจจัยเกี่ยวกับการนำเสนอแนวทางปัญหาการจัดการ (Simon, 1996) ภายใต้กรอบเค้าโครงความคิดในการออกแบบ ผู้เรียนควรจะได้รับการส่งเสริมให้คิดปัญหาได้อย่างกว้างขวาง, มีการพัฒนาให้เกิดความเข้าใจในประเด็นปัญหาอย่างลึกซึ้ง และวางแผนกระบวนการนำเอาความคิดที่ดีไปใช้ แนวคิดของการออกแบบความคิดสามารถนำมาเผยแพร่วิพากย์วิจารณ์ได้อย่างมากมายในปัจจุบันนี้เพื่อจัดวางตำแหน่งระดับของแผนธุรกิจ (Dunne and Martin,2006) การออกแบบความคิดคือสิ่งที่แตกจากความคิดในเชิงวิพากย์ในสิ่งที่การออกแบบความคิดเน้นกระบวนการ(process-oriented)ในขณะที่ความคิดเชิงวิพากย์เน้นการใช้ดุลยพินิจ (judgment-oriented) การศึกษากรณีตัวอย่างในการศึกษาธุรกิจย้ำเน้นเกี่ยวกับความคิดเชิงวิพากย์อย่างมาก แต่มีความคิดในเชิงออกแบบค่อนข้างน้อน การออกแบบความคิดเป็นผลที่เกิดขึ้นมาจากธรรมชาติของการออก...