บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก พฤษภาคม, 2012

แนวทางแก้ปัญหาข้อขัดแย้งของสังคม ตอนที่หนึ่ง

                 ความขัดแย้งของสังคมในโลกนี้    เกิดทุกที่ธรรมดาของมนุษย์         ทั้งความคิด,วิธีการ,ต่างยื้อยุด               ความเครียดฉุดอารมณ์บ่มสะสม         จากฐานบริบทวัฒนธรรม                      ความเชื่อนำวิถีทางต่างนิยม         บ้างแสดงเผชิญหน้าในคารม                 บ้างยอมข่มมุ่งขันติไม่รุนแรง                  ความขัดแย้งบางคนมีสองปม       ในสังคมจากบุคคลและกลุ่มก้อน         ที่ปรากฎทั้งในนอกองค์กร                     ควรสังวรณ์ในบทบาทและตำแหน่ง         โดยทบทวนความจริงประจักษ์ชัด           สิ่งชี้ชัดว่าเกี่ยวข้องมีส่วนแบ่ง         มีส่วนร่วมความขัดแย้งควรจัดแจง          วางตำแหน่งเป็นกลางหรือตัดสิน                  จึงเกี่ยวข้องแต่ละครั้งสิ่งขัดแย้ง    เพื่อลดแรงจุดเดือดให้ลดต่ำ         ความต่างบุคลิกวัฒนธรรม                    ต้องเหนี่ยวนำรักโลภ,และโกรธหลง         เป็นกิเลสซ่อนไว้ในตัวตน                     ควรอดทนฝึกฝนอย่างเที่ยงตรง         และละวางอัตตาไม่ยืนยง                     เห็นพ้องคงความรู้สึกอย่างแยบคาย                  ขั้นตอนแรกปัดเป่าอารมณ์ลง

แนวคิดเชิงธุรกิจกับความคิดออกแบบ ตอนที่ห้า

รูปภาพ
           การอภิปรายผล (Discussion)          สถาบันการสอนธุรกิจถูกท้าทายในการเตรียมการเพื่อเป็นผู้นำและผู้จัดการในอนาคตเพื่อเผยแพร่ประเด็นปัญหาที่ซับซ้อนที่มักขาดการแก้ปัญหาอย่างเฉพาะเจาะจงซึ่งต้องการความร่วมมือและมีความซาบซึ้งกับนัยยะทางสังคม    ในความพยายามปรับปรุงบัณฑิตและผู้นำในอนาคตที่ดีขึ้น, นักการศึกษาทางธุรกิจมักแสวงโอกาสตอบสนองบัณฑิตในยุคที่มีการแข่งขันโดยผ่านประสบการณ์จากการศึกษา  สิ่งนี้นำไปสู่การเห็นคุณค่าในการเติมเต็มความคิดในการออกแบบไปสู่หลักสูตรทางธุรกิจ   แนวทางการศึกษาธุรกิจที่รวมเอาความคิดในการออกแบบที่อาจเติมเต็มหลักสูตรทางธุรกิจ  แนวทางธุรกิจที่รวมเอาจากแนวคิดในการออกแบบอาจเติมเต็มเพื่อความได้เปรียบเชิงแข่งขันในเครืองมือธุรกิจที่กำหนดสถานะบัณฑิตต่อแนวคิดสร้างสรรค์และมีประสิทธิผลเป็นการเผยแพร่สิ่งซับซ้อน,สับสน และชื่นชอบในความต้องการขององค์การและสังคม            การศึกษาในเรื่องนี้เป็นการทดสอบผลกระทบของการมีส่วนร่วมในหลักสูตรข้ามภาควิชา,และข้ามศาสตร์เกี่ยวกับการบรรลุของผลที่ได้จากการเรียนรู้ของนักศึกษา ได้แก่ความสำเร็จในโลกที่แท้จริงของนักศึกษาซึ่งเป็นการแสด

กลอนสิ่งที่เชื่อมโยงกรอบความคิดญาณวิทยา (Epistimology) ตอนที่หนึ่ง

รูปภาพ
                                        อะไรคือสิ่งเชื่อมโยงกรอบความคิด   ที่ผูกติดกับญาณวิทยา               คุ๊กและบราวน์ให้ทัศนะดังว่า                  ผลงานหนาโดยมากของกูรู               เช่นความรู้องค์กร,ทุนทางปัญญา            หรือเรียกว่าองค์กรเสริมความรู้               งานความรู้มักใช้แนวทางดู                    เป็นสิ่งรู้เรื่องเดียวและโบราณ                     ญาณวิทยาครอบครองอยู่               เป็นความรู้ของคนเป็นเจ้าของ               แต่วิสัยทัศน์การรู้ไม่เกี่ยวข้อง                 เรื่องเกี่ยวดองปฏิบัติคนและกลุ่ม               การรู้ในฐานะปฏิบัติการ                         ที่เรียกขานญาณวิทยาคลุม               และความรู้เปิดเผย (explicit knowledge) มีชุกชุม มากกว่าขุมความรู้แบบปิดบัง (tacit knowledge)                         และแนวโน้มลิขสิทธิ์เมื่อมองมุม        ความรู้กลุ่มและบุคคลเป็นเจ้าของ              ผลงานองค์กรไม่ครอบครอง                   จำกัดจองเข้าครองเพราะขาดแคลน              การเอาใจใส่ที่จะให้ในความรู้                  องค์กรดูเข้าใจดีแนบแน่น    

ความคิดเชิงธุรกิจกับความคิดในการออกแบบ ตอนที่สี่

แนวทางการประเมิน (Evaluation approach)          แต่ละทีมส่งรายงานความก้าวหน้าโครงการประจำสัปดาห์  และนักศึกษาแต่ละคนส่งคำวิจารณ์สะท้อนให้เห็น (DeFillippi,2001) ตามที่ชอน (1983,1987) และไซเบอร์ทและดอดลิน (1999)  การประชุมแต่ละครั้งใช้วิดีโอเทปในการทำการปรับปรุงเอกสารของนักศึกษาตลอดทั้งหลักสูตร          คณะได้ถูกปรับปรุงกฎเกณฑ์ที่มีการวัดผลสเกลเป็นสี่คะแนนเช่น (1) การสนับสนุนทีม (2) การวิจัย (3) แนวคิดและการออกแบบกราฟฟิค  (4) ความยืดหยุ่น  (5) การนำเสนอผลงานแก่ลูกค้า และ (6) หลักฐานเกี่ยวกับการเรียนรู้  สิ่งเหล่านี้นำใช้วัดค่าคะแนน  (ก) การทำงานเป็นทีม (ข) โครงการที่ปรึกษา  (ค) การรับฟังรายงานนำเสนอ (ง) การนำเสนอแบบพบกันครึ่งทาง และ (ง) การนำเสนอผลงานสุดท้าย     ทั้งมิติทั้งหลายของนักศึกษาแต่และคนนำไปใช้ช่วยให้นักศึกษาเตรียมตัวในการนำเสนอผลงานขั้นสุดท้าย   เพื่อพิจารณาระดับหลักสูตรของแต่ละระดับ และเพื่อวิเคราะห์ผู้สืบค้นในการศึกษานี้          รายงานเป็นทีม, การสะท้อนภาพ และกฎเกณฑ์ของคณะและวิดีโอถูกวิเคราะห์โดยผู้สำรวจสำหรับประจักษ์พยานของการเปลี่ยนแปลงในการรับรู้,ทัศนคติ,และลักษณะคว

ความคิดเชิงธุรกิจกับการออกแบบความคิด ตอนที่สาม

คำถามในการวิจัย         แนวทางการศึกษาหลักวิชาการข้ามศาสตร์ในรูปแบบของนักศึกษาการออกแบบ และธุรกิจ สิ่งที่เหมือนกันในเรื่องทัศนคติ,การรับรู้, และการเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลสำหรับนักศึกษาด้านธุรกิจที่มีผลสะท้อนต่อการคิดในเชิงออกแบบใช่ใหม?         แนวทางการประยุกต์ใช้ข้ามสาขาวิชาการ ในรูปแบบของการสังเคราะห์ธุรกิจและการออกแบบ,ที่คล้ายคลึงกับความสำเร็จในโลกที่แท้จริง (ในกรณีนี้, นิยามว่าเป็นสิ่งสอดคล้อง, ยืดหยุ่น และใช้่ความคิด และผลิตภัณฑ์ที่เป็นประโยชน์) ใช่ใหม? วิธีการ ประชากร           ประชากรสำหรับการศึกษาครั้งนี้ประกอบด้วยนักศึกษาเอ็มบีเอ, การพัฒนาองค์การ และโปรแกรมการตลาดที่จบจากสถาบันธุรกิจ และนักศึกษาจากการออกแบบสิ่งแวดล้อม และโปรแกรมกราฟฟิคดีไซน์ในวิทยาลัยออกแบบศิลปะ   นักศึกษาธุรกิจใด ๆ สามารถประยุกต์หลักสูตรนี้ได้  เพียงแต่โปรแกรมเหล่านั้นมีเพียงสองภาคการศึกษาในการจบการศึกษา   จากประวัติของผลงานทางวิชาการ และบุคคลที่เรียกร้องให้มีความยืดหยุ่นและยอมรับความสับสน (คุณลักษณะสองประการหลังนี้ใช้ประเมินในการสัมภาษณ์ ได้รับการยอมรับ กรรมวิธีดำเนินงาน (Procedure)  

การผสมผสานหลักสูตรธุรกิจกับการออกแบบความคิด ตอนที่สอง

           ในการสัมภาษณที่ริเริ่มโดยนายเดวิด ดูนน์ (2006), โรเจอร์ มาร์ติต นักวิชาการชั้นนำเกี่ยวกับการออกแบบความคิด  โดยเฉพาะอย่างยิ่งการศึกษาธุรกิจจะมีการเตรียมการผู้เรียนเพื่อเป็นไปตามความต้องการของธุรกิจยุคปัจจุบันทีดีขึ้นกว่าเดิม   ในความหมายทั่วไปการออกแบบความคิดหมายถึงการเข้าถึงปัญหาทางการจัดการดังเช่นนักออกแบบที่เกี่ยวกับปัญหาการออกแบบแนวคิดเชิงศิลปะ ในแต่ละแนวคิดดูนน์ให้ข้อสรุป (โดยขึ้นอยู่กับการสัมภาษณ์กับมารติน,2006) ได้แก่องค์ประกอบการรับรู้,ทัศนคติ,และความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลที่ดำเนินการเกี่ยวข้องกับการศึกษาและการปฏิบัติงานทางด้านธุรกิจที่เป็นแบบดั้งเดิม   แต่นั้่นคือคุณลักษณะของบุคคลทางด้านการออกแบบและธุรกิจที่ประสบความสำเร็จมากที่สุด             ตั้งแต่ 10 ปีที่ผ่านมา เฮอร์เบอร์ต ไซมอน (1966) เรียกว่าการกำเนิดขององค์ความรู้ที่เข้มงวดเกี่ยวกับกระบวนการออกแบบที่เป็นปัจจัยสำคัญของแนวทางเข้าถึงปัญหาในทางการจัดการ  การอภิปรายได้ดำเนินการต่อเนื้องตั้งแต่นั้นมา ได้แก่ผลงานของแอดเล่อร์,2006 และคณะ   นักวิชาการหลายคนที่กล่าวมาให้ความเห็นแบบเส้นคู่ขนานระหว่างการออกแบบและธุรกิจท

การออกแบบความคิดหลักสุตรทางธุรกิจเพื่อความได้เปรียบเชิงแข่งขัน ตอนที่หนึ่ง

รูปภาพ
เรียบเรียงจากผู้เขียนบทความในวารสารแซมแอ็ดแวนซ์แมนเนจเม้นท์เจอร์นัล           สถาบันทางธุรกิจในปัจจุบันนี้ต้องเตรียมผู้นำ และผู้บริหารธุรกิจในอนาคตโดยนำเสนอประเด็นปัญหาอันซับซ้อนที่มักขาดการแก้ปัญหาอย่างเฉพาะเจาะจง, ต้องได้รับความร่วมมืออย่างกว้างขวาง และมีนัยสำคัญทางสังคมที่ค่อนข้างยุ่งยาก    ดังนั้นโปรแกรมการศึกษาธุรกิจมุ่งแสวงหาโอกาสในการตอบสนองประสบการณ์การเรียนรู้ที่มีลักษณะคล้ายคลึงกันในการช่วยให้มีกล่องเครื่องมือทางธุรกิจของผู้เรียนและเผชิญกับเฉือดเฉือนในการแข่งขันทางการตลาด  ภายในบริบทนี้  นักการศึกษาธุรกิจได้เริ่มต้นสำรวจสมมติฐานล่วงหน้าว่าการศึกษาธุรกิจจะต้องผสมกับการออกแบบความคิด (ในรูปแบบการเรียนรู้โดยการลงมือทำได้อย่างมีประสิทธิผลด้วยการกระทำกับผลสะท้อน)   อาจตอบสนององค์ประกอบเชิงนวัตกรรมในกล่องเครื่องมือธุรกิจที่กำหนดตำแหน่งผู้เรียนมีความคิดสร้างสรรค์และเผยแพร่สิ่งซับซ้อน,สิ่งที่เป็นของหวงห้าม, และความต้องการองค์การและสังคมอย่างเข้มข้น            ผู้ที่จบการศึกษาจากสถาบันทางธุรกิจมักถูกว่าจ้างให้ไปทำหน้าที่ในการทำงานระดับสูง, เป็นทีมที่ใช้ความรู้สหวิทยาการประกอบด้

สภาพจิตใจของนักเผด็จการ ผลงานวัจัยชาวต่างประเทศ

เรียบเรียงจากนักคิดชื่อ เจมส์ ฟอลเลน อาจารย์ประจำมหาวิทยาลัยคาลิฟอร์เนีย ณ.สถาบันการแพทย์เออร์วิน         เป็นเวลากว่า 18 ปีที่ศาสตราจารย์เจมส์ ฟอลเลน ทำการศึกษาเกี่ยวกับการทำงานของสมอง,จิตวิทยา,และพันธุกรรมคนไข้ทางจิต และได้ทำการสแกนสมองของนักสังเวยมนุษย์ที่เป็นโรคจิตเมื่อสองสามเดือนที่ ผ่านมา เขาได้รับเชิญจากองค์กรสิทธิมนุษยชนที่ไม่มุ่งหวังกำไรเพื่อส่งเสริมการนำเสนอจิตใจแบบเผด็จการ  โดยเฉพาะอย่างยิ่งการหยิบยกประเด็นที่ชี้ให้เห็นชัดเจนในการลุกฮือต่อต้านเผด็จการในตะวันออกกลาง และในอัฟริกาเหนือ  ภายหลังจากได้รวบรวมเอาวรรณกรรมของเผด็จการที่เลวร้ายที่สุดในโลกและผสมผสาน กับการวิจัยเกี่ยวกับประสาทวิทยาและคนไข้โรคจิตอื่ีน ๆ  เขาได้แสดงทฤษฎีลงในวารสาร Oslo Freedom Forum ในเดือนพฤษภาคม ซึ่งเป็นการประชุมประจำปีโดยมูลนิธิสิทธิมนุษยชน  ซึ่งจากบทความของเขาจากการบรรยายได้ล้วงลึกเข้าไปในจิตใจของผู้แสดงตนที่หลงผิดและคิดว่าเป็นผู้ทรงอำนาจที่ยิ่งใหญ่ในโลก         ดังนั้นอะไรคือสิ่งที่เชื่อมโยงนักเผด็จการในประวัติศาสตร์ และภูมิศาสตร์?   มีบุคลิกลักษณะอะไรที่พวกเขาแสดงให้เห็น?   เริ่มต้

การศึกษาจิตใจนักเผด็จการ ตอนที่หนึ่ง

เรียบเรียงจากนักคิดชื่อ เจมส์ ฟอลเลน อาจารย์ประจำมหาวิทยาลัยคาลิฟอร์เนีย ณ.สถาบันการแพทย์เออร์วิน           เป็นเวลากว่า 18 ปีที่ศาสตราจารย์เจมส์ ฟอลเลน ทำการศึกษาเกี่ยวกับการทำงานของสมอง,จิตวิทยา,และพันธุกรรมคนไข้ทางจิต และได้ทำการสแกนสมองของนักสังเวยมนุษย์ที่เป็นโรคจิตเมื่อสองสามเดือนที่ผ่านมา เขาได้รับเชิญจากองค์กรสิทธิมนุษยชนที่ไม่มุ่งหวังกำไรเพื่อส่งเสริมการนำเสนอจิตใจแบบเผด็จการ  โดยเฉพาะอย่างยิ่งการหยิบยกประเด็นที่ชี้ให้เห็นชัดเจนในการลุกฮือต่อต้านเผด็จการในตะวันออกกลาง และในอัฟริกาเหนือ  ภายหลังจากได้รวบรวมเอาวรรณกรรมของเผด็จการที่เลวร้ายที่สุดในโลกและผสมผสานกับการวิจัยเกี่ยวกับประสาทวิทยาและคนไข้โรคจิตอื่ีน ๆ  เขาได้แสดงทฤษฎีลงในวารสาร Oslo Freedom Forum ในเดือนพฤษภาคม ซึ่งเป็นการประชุมประจำปีโดยมูลนิธิสิทธิมนุษยชน  ซึ่งจากบทความของเขาจากการบรรยายได้ล้วงลึกเข้าไปในจิตใจของผู้แสดงตนที่หลงผิดและคิดว่าเป็นผู้ทรงอำนาจที่ยิ่งใหญ่ในโลก            ดังนั้นอะไรคือสิ่งที่เชื่อมโยงนักเผด็จการในประวัติศาสตร์ และภูมิศาสตร์?   มีบุคคลิกลักษณะอะไรที่พวกเขาแสดงให้เห็น?      เริ่มต้นเรามาท

ตัวแบบจำลองวุฒิภาวะความสามารถ ตอนที่สอง

              โครงสร้างวุฒิภาวะความสามารถ    แบบอย่างอาจมีหลายองค์ประกอบ      หนึ่ง ระดับวุฒิภาวะมีเขตขอบ                  ความคิดกรอบหลายชั้นก่อก้าวหน้า      หลักวิชาจำเป็นบรรลุเพื่อเป้าหมาย           สิ่งท้าทายการปรับปรุงต่อเนื่องมา      สิ่งสำคัญระบุได้ตามเวลา                      พัฒนาความสามารถการประเมิน                มุ่งมองผลกระทบการกระทำมา     สิ่งล้ำหน้าเทคโนโลยีที่รุดหน้า      และเครื่องมือในกิจกรรมที่อ้างว่า             เป็นเนื้อหามิใช่การพัฒนา      แต่เป็นสาระพิจารณาสิ่งสร้างสรรค์           ปัจจัยนั้นมีอิทธิพลที่หมายตา      ต่อการปฏิบัติงานเกิดขึ้นมา                   โดยมุ่งหน้ามอบอำนาจแก่บุคคล                ในโครงการ,ทีมงาน,องค์การหนา  เพื่อนำพาบุคคลรับผิดชอบ      สอง ขอบเขตขั้นตอนความคลุมครอบ       หมายถึงกรอบกิจกรรมเป็นกลุ่มก้อน      เมื่อต้องหลอมรวบรวมเป็นผลงาน           บรรลุการนำชุดเป้าหมายที่สำคัญ      สาม เป้าหมายกระบวนการสรุปกัน            ต้องไฝ่ฝันนำไปใช้อย่างได้ผล                ในขอบเขตเป้าหมายบรรลุฝัน       ตัวชี้นั้นว่าสามารถมากเท่าใด      เ

ตัวแบบจำลองวุฒิภาวะความสามารถ (Capabillity Maturity Model) ตอนที่หนึ่ง

             แบบอย่างวุฒิภาวะความสามารถ    ความฉลาดตามวิวัฒนาการ      มีห้าขั้นตอนตามลำดับจากพื้นฐาน          ความคิดอ่านตามกระบวนขององค์กร      ก่อกำเนิดปรับปรุงเพื่อพัฒนา                  ซอฟท์แวร์หนาควรนำมาพร่ำวอน      เพื่อประยุกต์นำใช้ในขั้นตอน                  ระดับก่อนต่อไปจนขั้นสูง             หนึ่งต้องมีขั้นเบื้องแรก (initial) ไม่ยอกย้อน ในองค์กรกระบวนการแบบชั่วคราว        รวมทั้งความสับสนในเรื่องราว             หากสืบสาวคำนิยามไม่กี่ความ        สองสามารถทำซ้ำได้ (repeatable )ในพื้นฐาน  กระบวนการที่กำหนดการทำตาม        สามให้ความหมาย (defined) ขั้นตอนทุกนิยาม  รวบรวมตามเอกสาร,มาตรฐาน             สี่จัดการ(managed)ขั้นตอนไม่ผลีผลาม  สืบสาวตามข้อมูลรายละเอียด        ทั้งขั้นตอน,คุณภาพเต็มกระเบียด   ห้าเคร่งเครียดปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง (continuos improvement)        โดยปรับปรุงทบทวนข้อมูลกลับ             เพื่อมุ่งปรับเชิงปริมาณอย่างรุ่งเรือง         จากแนวคิดแบบใหม่ที่กระเดื่อง            โดยประเทืองเทคโนโลยี่มีคุณค่า             แบบอย่างความพร้อมในทุกเรื่อง       ล้

การระดมสมอง (Brain Stormming)

             การรังสรรค์ความคิดกิจกรรมกลุ่ม    ควรคลอบคลุมริเริ่มสิ่งสร้างสรรค์      โดยส่วนมากจัดประชุมชั่วคราวกัน           เพื่อแบ่งปันคิดใหม่เพื่อพัฒนา       และความคิดเชิงนวัตกรรม                   ต้องกระทำส่งเสริมคิดก้าวหน้า       เพื่อหาแนววิธีแก้ปัญหา                       จากสรรหาความคิดใหม่อย่างมากมาย              โดยระดมความคิดอย่างแน่นหนา    สิ่งคิดมาอาจไม่ใช่ทางเลือกใช้      ในเบื้องหลังความคิดที่ยิ่งใหญ่               คือการใช้ระดมสมองช่วยหนุนนำ      ที่สามารถบรรลุพลังร่วม                       ไม่หละหลวมรวมกลุ่มแยกกันทำ      แต่ทุกกลุ่มร่วมกันเห็นพ้องคำ                 ความเลิศล้ำเกิดแด่สามัคคี               กฎสำคัญสามประการสำเร็จล้ำ      จากการนำประชุมระดมสมอง      หนึ่งสมาชิกควรส่งเสริมการประลอง         ความคิดของสมาชิกมากที่สุด      เพียงแต่ป้องกันความคิดที่ไม่ดี               คำเสียดสีมีประสงค์ให้สะดุด      แต่สมาชิกทุกคนมุ่งเร่งรุด                     รวบรวมชุดคิดแตกต่างสู่ทางเดียว               เบื้องหลังระดมสมองอย่างเยี่ยมยุทธ์ ต้องค้นขุดผู้มีประสบกา

การรื้อปรับระบบหรือยกเครื่อองค์กร (Business Process Engineering)

รูปภาพ
                              การยกเครื่ององค์กรธุรกิจ     ตามความคิดของ แฮมเม่อร์และแชมปี้         ให้คำนิยามความหมายดังกล่าวนี้   คือการที่ทบทวนกระบวนใหม่         ในกระบวนการออกแบบองค์การ    บรรลุงานปรับปรุงค่อยเป็นไป         เพื่อผลงาน,ต้นทุน,การก้าวไกล     ความว่องไวปัจจุบันนั้นจำเป็น                จัดองค์กรหน่วยงานรูปแบบใหม่ ชำนาญในหน้าที่การทำงาน         การผลิต,การตลาด,บัญชีการ        มองดูงานในหน้าที่แต่ละอย่าง         แฮมเม่อร์และแชมปี้ เสนอแนะ       ควรข้องแวะดูกระบวนการนำทาง         จากการได้วัตถุดิบเป็นตัวอย่าง      เพื่อถากถางการผลิตการตลาด                และการจำแนกแจกจ่ายเพื่อจัดวาง ต้องแผ้วถางห่วงโซ่อุปทาน         ในการปรับองค์กรกระบวนการ       เพื่อสร้างฐานคุณค่าแก่ลูกค้า         อันเป็นแนวปัจจัยการชักนำ          ความเลิศล้ำแนวคิดบีพีอาร์ (Business Process Engineering)           และเทคโนโลยีข่าวสารที่ก้าวหน้า คือที่มาบทบาทอย่างสำคัญ                องค์ประกอบสำคัญยิ่งใหญ่หนา ยกเครื่องมาโดยนักคิดที่กล่าวไว้        ในชุดตำรายกเครื่ององค์กรใหม่     บรรจุ

งบประมาณความผูกพันตอนที่สอง

             จุดแข็งงบประมาณความผูกพัน    สิ่งสร้างสรรค์องค์การอย่างมากมาย       หนึ่งตอบสนองรวดเร็วและง่ายดาย      นั้นกลับกลายลดซับซ้อนกระบวนการ       ในการจัดการบรรุสำเร็จได้                 ขอบเขตในทันเวลาการปฏิบัติงาน       และตัดสินใจชัดเจนในหลักการ           พรมแดนฐานค่านิยมและกลยุทธ์              ดำเนินการเครือข่ายยืดหยุ่นนาน   ตัวช่วยการตอบสนองผู้จัดการ       ตามข้อเรียกร้องลูกค้าที่ไหว้วาน          กระบวนการภาพรวมที่เปลี่ยนไป       แต่กลยุทธ์ต้องเปิดเผยและต่อเนื่อง      รวมทั้งเรื่องกระบวนการปรับตัวได้       ช่วยองค์การตอบสนองอย่างว่องไว      โต้ตอบในสิ่งคุกคามและโอกาส              จากปัญหาแผนเก่า,ล้าสมัย          คะเนในทบทวนช่วยเข้าถึง       ในทรัพยากรที่ต้องการช่วยฉุดดึง          ลดคำนึงปฏิบัติแบบราชการ       อันเป็นอุปสรรคขององค์การไซร้          มักเกิดในองค์การใหญ่การทำงาน       จึงต้องหาวิธีเกลี่ยงบประมาณ              การจัดการจึงสำเร็จเสร็จสมบูรณ์              สองกลยุทธ์ริเริ่มขององค์การ       ผู้ทำงานสามารถเปิดใจได้       ด้วยคำถามของตนเองที่สงสัย        
         การประยุกต์ความคิด Six Sigmaไปสู่นวัตกรรมที่ผสมผสานร่วมกับการปรับปรุงเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพโดยรวมและ Six Sigma  ในบริษัททั่วโลก    โทนี่ เออร์วิค เริ่มต้นประยุกต์ความคิดต่อกระบวนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ เป็นการปรับปรุงจุดหมายปลายทางข้างหน้าของระบบ ดร.อาเคโอะ ผลที่ปรากฎคือกระบวนที่รู้ในปัจจุบันดังเช่นนวัตกรรมที่ขับเคลื่อนผลลัพธ์หรือ ODI  กระบวนการที่ให้ผลตอบแทนอัตราความสำเร็จ 80 %   บริษัททั่วโลกกำลังเริ่มต้นพัฒนาวิธีการที่มีการปรัปปรุง และเป็นแบบใหม่เพื่อยืนหยัดการแข่งขันในตลาดที่น่าเชื่อถือและเติบโตในด้านนวัตกรรม          อะไรคือกระบวนการที่คล้ายกัน และอะไรที่ทำให้การปรับปรุงแต่ละอย่างต่อวิธีการที่เน้นลูกค้ามาก่อนใช่ใหม?    การยืนหยัดความจริงต่อหลักการของ Six Sigma และ TQM  กระบวนการที่ซ้ำซ้อนและทำนายความสำเร็จได้    อะไรคือสิ่งที่ทำให้กระบวนการปฏิวัติในการสร้างสิ่งแปลกใหม่อย่างง่ายที่คนซื้อผลิตภัณฑ์เพื่อให้งานสำเร็จ  เป็นการวิจารณ์งานของลูกค้าไปสู่ขั้นตอนที่จำเป็นต่อการบรรลุความสำเร็จในงานและการร่วมมือจากลูกค้าในการวัดผลความสำเร็จในการบรรลุผลสำเร็จในแต่ละขั้นตอน  สิ่งเหล่