บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก พฤษภาคม, 2013

วิธีคิดนำชีวิตไปสู่ความร่ำรวย

                      เศรษฐีคิดแตกต่างชนชั้นอื่น           มีจุดยืนมุมมองการประดิษฐ์               เรื่องเงินทอง,ความมั่งคั่ง,และชีวิต         สิ่งที่คิดหกประการเป็นตัวอย่าง               ธรรมชาติความเชื่อของหมู่ชน                ฝังจิตตนทุกคนคอยเลือกทาง               หากปรับเปลี่ยนความคิดไม่แคลงคลาง  อาจถากถางเปลียนวิถีที่เป็นมา                       จำไว้ว่าความเชื่อที่กล่าวอ้าง          ผิดถูกบ้างจริงแท้มีแปรผัน               เพียงความเห็นในอดีตได้ผลักดัน           หากเสกสรรเปลึ่ยนคิดชีวิตเปลี่ยน               ประการแรก คนรวยล้วนเชื่อว่า                 อันตัวข้าคือผู้สร้างชีวิตเอง               แต่คนจนหนทางมักกริ่งเกรง                   มักมองเพ่งฟ้าลิขิตชีวิตตน                        หากเชื่อว่าตัวเองเป็นคนเก่ง           ไม่กลัวเกรงกล้าเสี่ยงสรรหาเงิน               หากไม่เชื่อว่าทำได้มีทางเดิน                  ทางเจริญแบบเศรษฐีย่อมไม่มี               โดยตอกย้ำความเชื่อฉันคนจน                โอกาสพ้นเป็นเศรษฐีหามีไม่                แต่ควรคิดเป็นโจทย์ปัญหาไซร้        

กรอบความคิดดิซ (DICE) พิชิตแผนเปลี่ยนแปลง

                  อันว่ากรอบความคิดที่เรียกดิซ (DICE)     สิ่งประดิษฐ์คิดใช้ไว้คำนวน          ว่าดำเนินการตามแผนแม้นแปรปรวน             จากกลุ่มก๊วนที่ปรึกษาของบอสตัน (Boston Consulting Group)                                สิ่งคาดหวังตามแผนล่ม,สำเร็จ                      งานเขียนเด็ดจากเซอร์กิน ( sirkin) และคีนัน( keenan)           และแจ๊คสัน (่jackson) จากวารสารนั้น                 งานสร้างสรรค์ฮาร์วาร์ดบิวสิเนส                   เช่นปัจจัยนุ่ม (soft factors) ลุ่มลึกคอยฝึกฝน  ที่มีผลเพิ่มสัมฤทธิ์พิชิตแผน          สำหรับแผนเปลี่ยนแปลงอันแนบแน่น             ได้แก่แก่นวิสัยทัศน์,และผู้นำ          วัฒนธรรมองค์การ,แรงจูงใจ                           แนวทางไซร้จากบนลงสู่ล่าง (Top-down appproach)          หรือแนวทางมีส่วนร่วมเป็นเยี่ยงอย่าง             เพือแผ้วถางความสำเร็จวิเศษจริง                   และทักษะแบบแข็ง (hard factors) ไร้อิงอ้าง   เป็นแบบอย่างไม่สนใจอย่างจริงจัง             ปัจจัยดิซ (DICE FACTOR)  คิดไว้ไม่อินัง                 ที่เป็นคลังความสำเร็จอันได้แก่    

จุดบอดของการเมืองการปกครองของไทยที่ทำให้ไทยล้าหลัง

 จากการศึกษาพฤติกรรมการเมืองของไทยมีจุดอ่อนหลายประการที่ควรแก้ไขอย่างเร่งด่วน และเป็นจุดที่ทำให้ไทยต้องล้าหลังกว่าประเทศเพื่อนบ้าน  ซึ่งได้แก่ จุดอ่อนทางด้านการเมืองไทย:      1. การเมืองไทยมุ่งโจมตีจุดอ่อน และมุ่งโจมตีตัวบุคคลมากกว่าจะนำหลักการมาพูดถึง ทำให้ประเทศไทยเสียภาพพจน์ในสายตาชาวโลก  ซึ่งการเมืองที่ดีควรมุ่งส่งเสริมจุดแข็ง ไม่ควรมาปลุกกระแสโจมตีคนไทยกันเอง      2. การเมืองไทยมุ่งเพ่งเล็งที่ผลประโยชน์จนลืมผลประโยชน์ประชาชน และประเทศชาติ เพราะความ เห็นแก่ตัว หรือต้องการแต่เพียงอำนาจ แต่ไม่คิดสร้างสรรค์ประโยชน์ให้กับประเทศชาติ การโจมตีมีลักษณะเกินความเป็นจริง      3. นักการเมืองไทยต้องแสดงความสามารถในการเป็นนักการเมืองแบบมืออาชีพที่ทำให้ประชาชนยอมรับ มีความโปร่งใส,เปิดเผย, ทุกโครงการไม่ซ่อนเร้นด้วยผลประโยชน์แอบอิง แม้ว่าจะเสียเวลาก็ตาม หากโครงการใดที่ต้องทำอย่างรวดเร็วก็ต้องแสวงหาวิธีการเร่งด่วน และทำการประชาสัมพันธ์ ให้ประชาชนรับทราบ      4. นักการเมืองฝ่ายค้าน ควรค้านอย่างสร้างสรรค์ ไม่ได้มีจุดมุ่งหมายโค่นล้มรัฐบาล แต่ควรเสนอแนะว่ารัฐบาลควรทำอย่างไรบ้านเมืองจึงจะเข้มแข็

ผู้นำทีมนำอย่างไรจึงจะได้ใจทีมงาน

              จากหนังสือเรื่อง ผู้นำนำอย่างไร ได้ใจทีมงาน จาก The Art of Supportive Leadership: A practical handbook for people in position of responsibility แปลโดย อำนวยชัย ปฏิพัทธ์เผ่าพงศ์                จุดประสงค์ของผู้นำหนังสือมาเพื่อช่วยให้ผู้อ่านได้พัฒนาตนเองเพื่อการเป็นผู้นำที่ดี  เพราะหากการที่คนเราไม่ได้นำเอาหลักการที่ดี ๆ มาใช้ก็จะทำให้ความสำเร็จของคนเราไม่มีความยั่งยืน เพราะ ได้สร้างเหตุปัจจัยที่ไม่ดีก็ย่อมรับผลที่ไม่ดี ทั้งนี้มนุษย์เรามีแนวโน้มที่จะประมาท และหลงลืมสิ่งดี ๆ หรือหลักการดีมาใช้ แต่เมื่อไม่ได้นำมาใช้ก็ทำให้มนุษย์เราใช้อัตตา หรือสัญชาติญาณดั้งเดิมมาใช้ ทำให้การบริหารงานมิได้ใส่ใจกับการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสิ่งดีๆ ให้กับองค์การหรือประเทศชาติได้                สำหรับการบริหารเป็นทีมงาน นั้นได้สรุปหลักการไว้ว่า                - การเป็นผู้นำที่แท้จริงคือการให้การสนับสนุนมิใช่การบังคับ                - ผู้นำที่แท้จริงพยายามนำคนอื่น มิใช่ผลักใสพวกเขา                - การเป็นผู้นำหมายถึงการทำให้คนอื่นมีส่วนร่วม (พยายามให้ทุกคนทำงานร่วมกันคิดร่วมกันทำมากกว่าเน้นการ

แบบฟอร์มนำเสนอโครงการภูมิปัญญาจิตอาสา

(แบบฟอร์มสำหรับกลุ่ม/ทีมงาน)  เพื่อนำเสนอโครงการภูมิปัญญาจิตอาสา คำนำ            โครงการจิตอาสาของครูอาจารย์เป็นส่วนหนึ่งที่ทางคณะครูอาจารย์ และเจ้าหน้าที่สามารถช่วยกันคิดค้นภูมิปัญญาจิตอาสาเพื่อทำประโยชน์แก่สังคม และเป็นส่วนหนึ่งของความรับผิดชอบต่อสังคม ( Social Corporate Responsiblity ) จุดเริ่มต้นและสิ้นสุดโครงการและแนวคิด   ก.      ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของแต่ละกลุ่ม/ทีมที่นำเสนอ เพื่อให้เกิดความคิดอิสระ,ทำงานด้วยความสมัครใจและเป็นประโยชน์ต่อการประชาสัมพันธ์วิทยาลัยกรุงเทพสุวรรณภูมิ ข.      เพื่อริเริ่มสร้างสรรค์โครงการภูมิปัญญาจิตอาสา อันจะเป็นประโยชน์ต่อผลงานของแต่ละกลุ่ม และแต่ละคณะหรือสาขาวิชา และฝ่ายปฏิบัติการต่าง ๆ ค.      ทางฝ่ายบริหารจะมีการคัดเลือกกลุ่ม/ทีม ที่มีแนวคิดและการปฏิบัติเกี่ยวกับจิตอาสาที่ดีโดยจัดสรรงบประมาณเพื่อสนับสนุนกิจกรรมของกลุ่ม/ทีมดังกล่าว ง.       โครงการที่แต่ละกลุ่ม/ทีมคิดค้นหากไม่ได้รับการจัดสรรงบประมาณ ก็สามารถทำได้โดยเป็นการอาสาสมัคร และอาจจะขอความกรุณาจากองค์การ,ห้างร้าน,บริษัทช่วยสนับสนุนกิจกรรมก็ได้ คุณค่าของภูมิปัญญาจิตอาสา

วัฏจักรของดร.เอ็ดวาร์ด เดมมิ่ง (Deming Cycle)

รูปภาพ
                แนวคิดวงจรควบคุมคุณภาพ    เป็นสิ่งทราบวัฏจักรที่ผลักดัน           ดุจกงล้อเวียนขวาพาสร้างสรรค์     เพื่อประักันคุณภาพอย่างต่อเนื่อง           ประกอบด้วยขั้นตอนตามลำดับ      โดยเริ่มนับวางแผน (plan)เป็นแรกเรื่อง           ลงมือทำ(Do),ตรวจสอบ(check)อยู่เนืองเนือง สุดท้ายเรื่องปรับแผน(Action)เพื่อแก้ไข                 วัฎจักรเดมมิ่งเหมือนฟันเฟือง   เพื่อประเทืองผลงานทุกเวลา           แนวคิดเริ่มปีหนึ่งเก้าสองศูนย์นา    แนวคิดหนาเริ่มต้นโดยชวาร์ท (shewhart)          โดยเริ่มคิดวางแผน ลงมือทำ         สิ่งหนุนนำต่อยอดโดยเดมมิ่ง           เพิ่มตรวจสอบ,วางแผนใหม่อย่างแท้จริง  สัมพันธ์อิงไคเซ็นจัสอินไทม์ (Kaizen, Just-in time)                 ข้อดีวัฏจักรของเดมมิ่ง            มุ่งหวังจริงงานประจำของบุคคล           เป็นกระบวนแก้ปัญหาผลิตผล        ใช้เริ่มต้นงานบริหารกับโครงการ           เพื่อพัฒนาปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง  คอยหนุนเนื่องผู้ขายดำเนินงาน           พัฒนาคน,สินค้าบริการ                  ทดลองงานกระบวนการได้ผลจริง                 ส่วนวงจรเดมมิ่งเมื่อไขขาน    

แบบฟอร์มการให้คะแนนความพร้อมของทีมและการตีความ

รูปภาพ
แผ่นการให้คะแนนความพร้อมของทีม          1            2           3          4       5 ข้อความ  คะแนน ข้อความ  คะแนน ข้อความคะแนน ข้อความ  คะแนน ข้อความ  คะแนน     1      2    3     4      5     6     7    8     9     10   11   12   13   14     15   16   17   18   19     20   21   22   23   24     25 รวม รวม รวม รวม รวม แผ่นการตีความความพร้อมของทีม คอลัมน์ คะแนน ที่ให้ จัดอันดับที่ คะแนน ของทีม พิสัยของคะแนน พิสัยของทีม องค์ประกอบสความเหมาะสมของทีม 1