บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก พฤษภาคม, 2017

คำแนะนำของบิลเกตต์มอบให้นักศึกษาจบใหม่ และคนทั้งโลก

รูปภาพ
ซึ่งได้สรุปเป็นข้อๆ เพื่อให้เข้าใจง่ายขึ้น และประหยัดเวลาอ่าน ดังนี้ ถ้าย้อนเวลากลับไปเป็นเฟรชชี่ได้ มีอยู่ 3 สาขาวิชาที่เขาจะเลือกเรียนก็คือ 1).  AI  เพราะมันจะช่วยให้มนุษย์มีความ Productive มากขึ้น และช่วยขยายขอบเขตของความคิดสร้างสรรค์ 2).  พลังงาน  เพราะการสร้างพลังงานสะอาดในราคาที่จับต้องได้ คือกลไกสำคัญที่จะช่วยแก้ปัญหาโลกร้อน และ 3).  Bioscience  เพราะมันจะช่วยให้มนุษย์มีสุขภาพที่ดีขึ้น และมีชีวิตยืนยาวขึ้น ความฉลาด (Intelligence) ไม่ใช่สิ่งที่สำคัญที่สุด ซึ่งเป็นสิ่งที่เขาเพิ่งตระหนักเมื่อมีอายุมากขึ้น และหวังว่าน่าจะคิดได้แบบนี้ตั้งแต่ตอนที่ยังเป็นวัยรุ่น เพราะความฉลาดมีหลากหลายรูปแบบ เราต้องเรียนรู้ที่จะชื่นชมความสามารถที่แตกต่างกันของผู้คน ยิ่งคิดแบบนี้ได้เร็วเท่าไร ก็ยิ่งรวยเร็วเท่านั้น จงตระหนักถึงความไม่เท่าเทียมที่เกิดขึ้นอยู่บนโลกใบนี้ ตัวเขาเองเพิ่งรู้จักมันจริงๆ ก็ตอนที่อายุ 30 ปลาย ขณะที่กำลังเดินทางในแอฟริกา เห็นเด็กจำนวนมากเสียชีวิตด้วยโรคร้าย แต่ไม่มีประเทศรวยๆ ให้ความสนใจ และด้วยเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคนี้ เด็กรุ่นใหม่สามารถมองเห็นปัญหานี้ได้เร็วกว่าเขามากนั

แนวคิดของผู้นำจีนเกี่ยวกับการศึกษา ยุคเหวิน เจีย เป่า

             ทัศนะของจีนผืนแผ่นดินใหญ่มองว่าการศึกษาเป็นสิ่งสำคัญต่อความก้าวหน้าของประเทศทุกประเทศและต่อประชาชนทั้งหลาว      การจัดการศึกษาจึงเน้นการศึกษาที่เป็นระดับที่ยอดเยี่ยมสูงสุด และต้องส่งเสริมคนเก่งนระดับแนวหน้า  จึงจะสามารถสร้างประเทศที่เป็นแนวหน้าได้     จีนให้ความสำคัญต่อการส่งเสริมการศึกษาประชาชนจำนวนมาก เช่นการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี ที่ทำในการศึกษาชนบทหรือในท้องถิ่น    คนฐานะยากจนมีโอกาสทางการศึกษาเท่าเทียมในการเข้าเรียน  แรงงานได้สร้างคนรุ่นใหม่เป็ฯคนวัยหนุ่มสาวที่ได้เรียนรู้ประสบการณ์และในเชิงวัฒนธรรม        การกำหนดนโยบายของโครงสร้างการศึกษาระดับกลาง และการปฏิรูปการศึกษาระยะยาว    การพัฒนาการศึกษาอย่างมีคุณภาพจึงมีการปรับปรุงผู้ที่มีความสามารถของประเทศชาติโดยรวม   ซึ่งเป็นส่ิ่งสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจ, ความก้าวหน้าทางสังคม และการมีชีวิตของพลเมืองที่ได้รับการปรับปรุง    การปฏิรูปการศึกษาสกระทำโดยคณะกรรมการกลางของพรรค  สร้างสังคมที่เท่าเทียมและนำไปสู่ความทันสมัย               ประการที่สอง จีนมองว่าการพัฒนาการศึกษาต้องตอบสนองความต้องการคนเก่งเพื่อกระบวนการเศรษฐกิจและความก้า