บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก มิถุนายน, 2012

กลอน "ทฤษฎีพฤติกรรมที่คาดคะเนล่วงหน้า" (Theory of planned behavior)

           ทฤษฎีพฤติกรรมที่วางแผน     มาจากแปลนวิชาการผู้ค้นคิด     ที่ชื่อว่าอัจเซ็นท่านประดิษฐ์           เพื่อสะกิดเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม     ของคนเราที่แสดงออกอย่างจงใจ   สิ่งนั้นไซร้มีแผนล่วงหน้าทำ     ทฤษฎีนี้คล้ายคลึงกับถ้อยคำ         คือลำนำการกระทำมีเหตุผล (Reasoned Action)              การสืบต่อเป็นเหตุผลใช้ชี้นำ   พฤติกรรมที่ค้นพบปรากฎขึ้น     ไม่ถึงร้อยเปอร์เซ็นต์เป็นอย่างอื่น    แต่ต้องฝืนภายใต้การควบคุม     ผลที่เกิดรับรู้พฤติกรรม                 คือถ้อยคำทฤษฎีที่เกาะกุม     การกระทำของมนุษย์นั้นคลอบคลุม เมื่อแบ่งขุมความคิดสามประการ            หนึ่งความเชื่อพฤติกรรมนั้นไขขาน ความเชื่อการลำดับพฤติกรรม     สองความเชื่อปทัสถานย้ำ             ความเชื่่อนำคาดหวังในผู้อื่น     สามความเชื่อในควบคุมนั้นหมายถึง แสดงถึงปัจจัยที่ไหลลื่น     หรือขวางผลพฤติกรรมในจุดยืน      ที่หยิบยื่นไปตามสถานการณ์            ทั้งแผนงาน,โครงการทุกวันคืน เพื่อเฝ้าตื่นพฤติกรรมที่จำเป็น     ในการนำการเปลี่ยนแปลงเป็นประเด็น ที่เล็งเห็นพฤติกรรมที่บ่งบอก     ทัศนคติพอใจหรือว่าไม่พอใจ         เ

สุภาษิตครู ตอนที่สอง

"การศึกษาเสรีภาพคือหัวใจของสังคมพลเมือง และเป็นหัวใจของการศึกษาเสรีภาพคือการได้มีการถ่ายทอด"   A. Bartlett Giamatti "ในส่่่่่่่่่่่วนของการปฏิบัติการสอนของข้าพเจ้าคือการตอบสนองประสบการณ์ด้วยการสาธิตให้เห็น และการลงมือทำ" Edward Tufte "ครูที่ดื้อร้ั้นน้อยที่สุดอย่างเรียบง่ายคือครูที่ไม่ได้ทำการสอน" Gilbert K. Chesterton "บางครั้งข้อแนะนำสำหรับการถ่ายทอดได้สำเร็จมากกว่าโดยผ่านการพูดตลกขบขันมากกว่าการสอนที่ไร้ชีวิตชีวา" Baltasar Gracian "ภายหลังสิบหกเดือนของการสอน,การปรึกษา,การสร้างมิตรภาพ และกิจกรรมโครงการพิเศษเกี่ยวกับสาระขอบเขตจากการรักษาสุขภาพไปสู่การค้านานาชาติ, รัฐบาลเวนจูล่าได้แต่งตั้งให้ข้าพเจ้าไปเป็นผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์แห่งรัฐมินิโซต้า"  David Minge "ทีวีทุกช่องคือทีวีเพื่อการศึกษา คำถามก็คือว่า มันสอนอะไรบ้าง?" Nicholas Johnson "ผู้สอนชาวอังกฤษที่ถ่ายทอดให้คนอเมริกันเกี่ยวกับอาหารเปรียบเสมือนการจูงคนตาบอดข้างเดียว A. J. Liebling "ในช่ว

ทำไมการเปลี่ยนแปลงการปกครองประชาธิปไตยในวันที่ 24 มิถุนายน 2475 จึงไม่บรรลุผลถึงยุคปัจจุบัน

              ประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากสมบูรณาญาสิทธิราชย์เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475 เป็นต้นมาซึ่งถือว่าเป็นยุคเบิกโรงประชาธิปไตยซึ่งเราจะพบว่าในการเปลี่ยนแปลงที่มีผู้นำชื่อ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ร่วมกับพลเอกพระยาพหลพยุหเสนา ได้วางรากฐานประชาธิปไตยสำเร็จเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ชาติไทย  แต่การณ์ปรากฎว่าแม้จะได้มีการวางต้นกล้าประชาธิปไตยมาเป็นเวลานานแล้ว แต่กลับถูกบิดเบือน และถูกบั่นทอนต้นกล้าประชาธิปไตยที่ปลูกไว้เมื่อ 80 ปีที่ผ่านมา   ซึ่งแสดงให้เห็นว่าต้นไม้ประชาธิปไตยนั้นถูกบั่นทอน และถูกโค่นทิ้ง กลายเป็นระบบเก่าที่สถาปนามาเป็นเวลานานแล้ว    ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่าชนชั้นนำไม่ปรารถนาให้ประชาธิปไตยที่แท้จริงกับประชาชน   และสะท้อนว่าประชาธิปไตยของไทยไม่พัฒนาอย่างยั่งยืนมีลักษณะเหมือนล้มลุกคลุกคลาน  และแต่ละยุคสมัยก็มีการออกแบบที่ครอบงำสังคมประชาธิปไตยมาตลอดในรูปของวัฒนธรรมทางการเมือง, ระบบการศึกษา,ระบบการเมือง, และระบบรัฐธรรมนุญที่่ดูประหนึ่งว่าจะมีประชาธิปไตยซึ่งเป็นเพียงรูปแบบเท่านั้น  แต่ในด้านเนื้อหาและพฤตินัยแล้วปรากฎว่ามีประชาชนจำนวนมากยังไม่เข้าใจ และให้ความสำคัญกับประชา

กลอนองค์การและการจัดการภาครัฐ ตอนที่สอง

                   การวิพากย์วิจารณ์อย่างเดือดดาล    สิ่งเรียกขานรัฐบาลอเมริกัน              นำแนวคิดลดบทบาทอย่างเฉียบพลัน      ในยุคนั้นคือคาร์เตอร์และรีแกน              ได้โจมตีรัฐบาลสหพันธรัฐ                    ข้อจำกัดบริหารทั่วถิ่นแคว้น              จากรณรงค์เลือกตั้งรัฐทั่วแดน               มุ่งเปลี่ยนแผนนโยบายดำเนินงาน                    ลดกฎเกณฑ์โรงงานอย่างถึงแก่น     และวางแผนลดเรดเทปจากส่่วนกลาง             ในสหพันธรัฐมุ่งจัดวาง                         นำแนวทางปฏิรูปข้าราชการ             การโจมตีว่าเฉื่อยชาไม่ว่องไว                การงานไซร้ไร้ประสิทธิภาพงาน             เรแกนได้ประนามรัฐบาล                       ให้ทำการลดเงินทุนและอำนาจ                    จากแผนงานและหน่วยงานราชการ   เกี่ยวกับงานรัฐบาลกลางมากมาย             เมื่อคลินตันชนะถล่มทลาย                    ได้กลับกลายเป็นผู้นำรัฐบาล             การเปลี่ยนแปลงตามข้อเสนอแนะ            การค่อนแคะจุดอ่อนบริหาร             จากแนวคิดเสรีดำเนินงาน                      นำแผนงานคู่แข่งทั้งสองคน                

องค์การและการจัดการภาครัฐ (Public organization and management)

                                                          บทที่ 1                                    ตอนที่ 1 บริบทพลวัตรขององค์การ บทที่ 1    สิ่งท้าทายองค์การและการจัดการภาคัฐ               - ความเข้าใจการจัดการและองค์การภาครัฐ                           ทุกชาติล้วนเผชิญตัดสินใจ           เกี่ยวข้องในภาครัฐ,เอกชน                เมื่อสองทศวรรษที่ผ่านพ้น                       ต่างผจญความเคลื่อนไหวแรงต่อต้าน                หลายประเทศส่วนมากต่างมุ่งหมาย            เพื่อคลี่คลายลดทอนบริหาร                ในอำนาจหน้าที่การจัดการ                       ด้วยเพิ่มฐานธุรกิจเข้าทดแทน                           ความเคลือบแคลงสงสัยการเพิ่มฐาน ขยายงานภาครัฐมากเกินควร                ในขณะที่ผู้เขียนหลายมากล้วน                 ได้ทบทวนศึกษาเชิงวิเคราะห์                ค่อนข้างน้อยเกินไปในแนวทาง                 ความแตกต่างสองภาคอย่างเพียงพอ                นักวิชาการยืนยันโดยตัดพ้อ                      การเติมต่อองค์ความรู้ค่อนข้างน้อย                           และทุนสนับสนุนมากมายหนอ       

กลอน แนวคิดการเปลี่ยนแปลงหกประการของคอทเตอร์

               แนวทางการเปลี่ยนแปลงของคอทเตอร์    ไชซิงเกอร์เป็นอีกคนที่ร่วมคิด       ในตัวแบบจำลองร่วมประดิษฐ์                          เพื่อลดฤทธิ์ต่อต้านความหวาดกลัว       เหตุผลสามประการค้านเปลี่ยนแปลง                  หนึ่งขัดแย้งเพราะคับแคบเห็นแก่ตัว       เพียงเพราะมองเห็นประโยชน์จนเมามัว               ลืมไปทั่วมีผลดีต่อส่วนรวม               สองเข้าใจผิดพลาดคลาดเคลื่อนทั่ว          เพราะไม่ชัวร์เรื่องข้อมูลข่าวสารกัน       ขาดข้อมูลความจริงไม่รู้ทัน                             สามใจนั้นไม่กว้างยอมปลดปลง       การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นอย่างรุกเร้า                    พวกหัวเก่าเกาะเกี่ยวความมั่นคง       กลัวการงานเปลี่ยนแปลงไม่เที่ยงตรง                 เพราะลุ่มหลงแบบเก่าเฝ้างมงาย              สี่ประเมินสถานการณ์แตกต่างธง                ลูกน้องคงไม่เห็นด้วยการเปลี่ยนแปลง      ในข้อดีข้อเสียไม่รู้แจ้ง                                     หวาดระแวงว่าตนต้องอับปาง      แนวทางการศึกษาที่เกี่ยวข้อง                            ล้วนเกี่ยวดองต่อต้านการเปลี่ยนแปลง      หนึ่งการศึกษา

กลอนเกี่ยวกับการรวมศูนย์อำนาจและกระจายอำนาจhttp://www.mozilla.com/th/firefox/central/

           องค์การตัดสินใจดีที่สุด        กลยุทธ์,ปฏิบัติประยุกต์ใช้    ตัดสินใจในที่ใดและคนใหน           โครงสร้างไซร้ขององค์กรต้องปรับตัว    ทั้งรวมศูนย์และกระจายอำนาจนั้น    แตกต่างกันตรงกันข้ามวิถีทั่ว    โอนอำนาจตัดสินใจไม่มืดมัว         พร้อมเตรียมตัวปรับโครงสร้างขององค์การ            ในความหมายทั้งสองคำต่างสุดขั้ว ไม่อาจมั่วการยึด่โยงสิ่งยึดถือ   ในนิยามการรวมศูนย์อำนาจคือ        หนึ่งยึดถือกระบวนการถ่ายโอนกัน   และมอบหมายตัดสินใจระดับสูง       ที่ชักจูงตามสายงานองค์กรนั้น   สองมีสำนักงานใหญ่ฐานที่มั่น          หรือเรียกกันศูนย์องค์กรธุรกิจ            สามความรู้,ข้อมุล,คิดสร้างสรรค์ ที่เน้นกันระดับสูงมุ่งมั่นคง   ตัดสินใจมีทิศทางที่ไหลลง             ที่มุ่งตรงระดับต่ำขององค์การ   สี่ช่วงของการควบคุมระดับสูง          คอยปรับปรุงในแนวกว้างบริหาร   สิ่งยึดเหนี่ยวมากมายขององค์การ     คือรากฐานปิรามิดคิดควบคุม            การกระจายอำนาจคือเรียกขาน กระบวนการถ่ายโอนในอำนาจ   เน้นตัดสินใจระดับล่างมีบทบาท       ให้เด็ดขาดในอำนาจตามสายงาน   หนึ่งในองค์กรกระจายอำนาจนั้น      

ประชาธิปไตยที่แท้จริงหรือประชาธิปไตยแบบเhttp://au.mg6.mail.yahoo.com/neo/launch?.rand=a5fj3n9co3lp2ทียมแฝง

โดย ซามาร์ อีแซปไซ          เป็นสิ่งปรากฎขึ้นกับการตระหนักว่าประชาธิปไตยเป็นรูปแบบที่แท้จริงและความน่าเชื่อถือยังไม่ได้ปรากฎขึ้นมา และสิ่ง ที่เรียกว่า "ประชาธิปไตย" ที่พวกเรามีนั้นไม่ใช่สิ่งที่แท้จริงซึ่งมันถูกทำลาย ล้างอย่างยับเยินเสียหาย ซึ่งในความเป็นจริงเราไม่เคยมีประชาธิปไตยที่แท้จริง            ไม่มีการปฏิเสธว่าประเทศทั้งหลายเช่นประเทศสหรัฐอเมริกา,ฝรั่งเศษ,เดนมาร์ค,สวิสเซอร์แลนด์,สหราชอาณาจักร และไม่ได้หมายถึงประเทศของข้าพเจ้าเอง  ประเทศคานาดาได้ส่งเสริมและสร้างเศรษฐกิจที่ยิ่งใหญ่ที่ทำให้เกิดความมั่งคั่งอย่างมากมาย   อันที่จริงแล้วประเทศเหล่านี้มีความสำเร็จเป็นอย่างมาก และเป็นสิ่งที่ทำได้ในช่วงระยะเวลาอันสั้น  จากการส่งเสริมการสร้างตีกรามที่สูงเสียดฟ้าที่มีเทคโนโลยีที่ทรงพลังมากทีสุดในโลก   ซึ่งยินยอมให้พวกเราได้สื่อสารที่ใดในโลกใบนี้  โดยผ่านความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ทางเทคโนโลยีและการสะสม  ประเทศเหล่านี้ได้เจริญแบบก้าวกระโดดที่อยู่เหนือและรากฐานทางด้านชีววิทยาและทางด้านปัญญาอย่างหลากหลายวิธี           อย่างไรก็ตาม  ทั้งที่มีความมั่งคั่งและมีเทคโนโลยี  เพี

การบริหารการพัฒนา ตอนที่สอง

อุปสรรคจากการบริหารงาน          จัดบันทึกรายงานภายใน, การบริหารเป็นสิ่งที่บางครั้งก็จำได้มากหรือจำได้น้อย อย่างไรก็ตามสถาบันการฝึกอบรมมักสอนแนวคิดที่ล้ำหน้าและเทคนิคมักหยิบยืมมา จากประเทศที่ก้าวหน้าแล้ว โดยมีพื้นฐานปรัชญาการบริหาร,มนุษยสัมพันธ์, เทคโนโยลีคอมพิวเตอร์ เป็นต้น และหลีกเลี่ยงปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหา           ข้อมูลสถิติเบื้องต้นมักไม่น่าเชื่อถือ, เป็นข้อมูลเป็นท่อน ๆ หรือไม่ปรากฎแหล่งข้อมูล  ตัวอย่างเช่น (1)ปากีสถานคำนวณผิดพลาดในอัตราการเกิดในช่วงแผนระยะแรก (2) ในลาตินอเมริกัน บริการการวางแผนการศึกษาได้นำเอาสถิติและข้อมูลกำลังคนกองโต  นอกจากนี้ข้อมูลมักไม่ได้เกี่ยวข้องกับการกำหนดเกี่ยวกับแผนต่าง ๆ ตามที่ฮอลตี้ คาร์เรียร์กล่าวว่า "แผนพัฒนาระดับชาตินำเสนอต่อคณะผู้เชี่ยวชาญของพันธมิตรเพือความก้าวหน้า ได้แก่การวิเคราะห์ที่มิใช่อาชีพของการจ้างงานในส่วนท่ี่อุทิศตัวกับกำลัง คน  และไม่มีแผนการศึกษาที่เกิดขึ้นบนพื้นฐานการพยากรณ์ความต้องการกำลังคน และการแปลเงื่อนไขของผลผลิตทางการศึกษา            รัฐบาลอาจไม่สามารถรวบรวมรายได้จากภาษีที่ครบกำหนดชำระ อันเนื่องจาก

สุภาษิตเกี่ยวกับภาวะผู้นำ

โดยนายอีเซกีโลลูโตล่า   "อย่าได้เดินตามทางที่อาจนำทางได้ จงนำทางไปเว้นแต่เมื่อไม่มีทางเดินและหยุดเดิน" - ฮาโรลด์ อาร์ แมคอลินดอน "ภาวะผู้นำคือศิลปะของการให้คนอื่นทำในบางสิ่งบางอย่างที่คุณต้องการทำให้สำเร็จ เพราะเป็นสิ่งที่เขาต้องการทำมัน"  - ดไว้ท ดี.ไอเซ็นฮาวเวอร์ "จงเดินไปที่ประชาชน ข้าพเจ้าต้องการเดินตามพวกเขาเพราะข้าพเจ้าเป็นผู้นำพวกเขา" - อเล็กซานเดอร์ เลดรู-โรลลิน "โอกาสอะไรที่หล่อนจะทำให้คนที่รวมตัวกันแตกกระเจิงกัน  บุคคลที่ยิ่งใหญ่จะดึงดูดผู้ซยิ่งใหญ่และรู้ถึงวิธีการที่จะทำให้เขาอยู่ร่วมกันได้" - โยฮันน์ วูล์ฟแก๊ง วอน โกเธ่ " นายพลเป็นเพียงคนดีหรือเพียงเป็นคนเลวเฉกเช่นเดียวกับเภายใต้การบังคับบัญชาที่เขาสั่่งการ" - นายพลดักลาส แม๊คอาเธ่อร์ "มนุษย์ถูกปกครองเพียงแต่เพื่อรับใช้พวกเขา, เป็นกฎเกณฑ์ที่ปราศจากข้อยกเว้น" - วี. คูซิน " ผู้นำที่แท้จริงไม่จำเป็นต้องนำ เขาเป็นเพียงแต่พอใจกับการชี้แนวทางเท่านั้น" - เฮ็นรี่

การบริหารการพัฒนา ตอนที่หนึ่ง

            รัฐประศาสนศาสตร์คือปัจจัยเชิงกลยุทธ์ในการพัฒนาสังคม และเศรษฐกิจซึ่งมีอิทธิพลและวินิจฉัยถึงความสำเร็จของแผนพัฒนาใด ๆ และในขณะเดียวกันก็มีความว่องไวต่อการมุ่งไปสู่การเปลี่ยนแปลงและการควบคุมสังคม   ความไม่เพียงพอต่อการบริหารงานในประเทศกำลังพัฒนาทั้งหลายในปัจจุบันตระหนักว่าเป็นอุปสรรคสำคัญต่อการพัฒนา, ซึ่งบางทีเป็นอุปสรรคที่น่ากังวลมากกว่าการขาดเงินทุน หรือการช่วยเหลือจากต่างประเทศ  เฮอร์เบอร์ต เอ็มเมอริชนักวิชาการและนักบริหารตั้งข้อสังเกตว่าจากการประมาณการแปดสิบเปอร์เซ็นต์ของแผนงานของโลกไม่สามารถเติมเต็มได้อันเนื่องจากการบริหารงาน             คำว่าการบริหารสามารถนำไปใช้ในเหตุผลเชิงกว้างในการเข้าสู่ความหลากหลายของ แนวคิดและทัศนะความคิดที่ตั้งข้อสังเกตการศึกษาเกี่ยวกับรัฐประศาสนศาสตร์ใน ประเทศกำลังพัฒนา  ผู้เขียนหลายคนได้แสวงหาในการตีความหมายอย่างเคร่งครัดและถูกต้องอย่างมาก  แต่ยังคงมีความพยายามที่จะได้มีการร้องเรียนและการขัดแย้งกัน    หลายคนพูดเกี่ยวกับการบริหารการพัฒนาเพื่อที่จะเน้นความไม่เพียงพอของหลัก วิชารัฐประศาสนศาสตร์  นักวิชาการอื่น ๆ ที่คุกคามสาขานี้เป็นเ

สุภาษฺิตเกี่ยวกับเผด็จการ (Dictatorship)

"ความไม่รู้หรืออวิชชาคือวัชพืชแห่งความชั่วร้าย ซึ่งนักเผด็จการอาจจะเก็บเกี่ยวกับการหลอกล่อของพวกเขา แต่ไม่มีประชาธิปไตยใด ๆสามารถซื้อความเป็นพลเมืองได้"  - วิลเลียม บีเวอริดจ์ "เมื่อใดก็ตามที่คุณมีรัฐบาลที่มีประสิทธิภาพแล้ว คุณก็จะมีเผด็จการ  - แฮรี่ เอส.ทรูแมน "เผด็จการโดยธรรมชาติเกิดขึ้นนอกเหนือประชาธิปไตย และเป็นรูปแบบเผด็จการทรราชย์ที่รุนแรงมากที่สุด และยอมเป็นทาสที่ยอมสูญเสียเสรีภาพอย่างสุดซึ้งมากที่สุด"  - พลาโต้ "สิ่งเดียวที่ไม่ได้สร้างความเป็นเผด็จการเพียงเพื่อที่จะปกป้องการปฏิวัติ มีเพียงสิ่งเดียวที่การทำการปฏิวัติเพื่อที่จะสร้างความเป็นเผด็จการ"  - ยอร์ช ออร์เวลล์ "ประชาธิปไตยประกอบด้วยการคัดเลือกนักเผด็จการ, หลังจากที่พวกเขาได้บอกกับคุณในสิ่งที่คุณคิดว่ามันเป็นสิ่งที่คุณต้องการ"   - อลัน โคเรน "ข้าพเจ้าได้มักคิดว่าเผด็จการฟัสซิสต์แบบสมเหตุสมผลได้บังเกิดขึ้นแล้ว  และมันยังคงเลือกระบบอเมริกัน"   - นอห์ม ชอมสกี้ "ลัทธิฟัสซิสม์อยู่ในอำนาจเป็นการเปิดเผยเผด็จการก่อการร้ายของฝ่ายปฏิกิริยามากท

การบริหารพัฒนาตอนที่สอง

อุปสรรคจากการบริหารงาน          จัดบันทึกรายงานภายใน, การบริหารเป็นสิ่งที่บางครั้งก็จำได้มากหรือจำได้น้อย อย่างไรก็ตามสถาบันการฝึกอบรมมักสอนแนวคิดที่ล้ำหน้าและเทคนิคมักหยิบยืมมาจากประเทศที่ก้าวหน้าแล้ว โดยมีพื้นฐานปรัชญาการบริหาร,มนุษยสัมพันธ์, เทคโนโยลีคอมพิวเตอร์ เป็นต้น และหลีกเลี่ยงปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหา           ข้อมูลสถิติเบื้องต้นมักไม่น่าเชื่อถือ, เป็นข้อมูลเป็นท่อน ๆ หรือไม่ปรากฎแหล่งข้อมูล  ตัวอย่างเช่น (1)ปากีสถานคำนวณผิดพลาดในอัตราการเกิดในช่วงแผนระยะแรก (2) ในลาตินอเมริกัน บริการการวางแผนการศึกษาได้นำเอาสถิติและข้อมูลกำลังคนกองโต  นอกจากนี้ข้อมูลมักไม่ได้เกี่ยวข้องกับการกำหนดเกี่ยวกับแผนต่าง ๆ ตามที่ฮอลตี้ คาร์เรียร์กล่าวว่า "แผนพัฒนาระดับชาตินำเสนอต่อคณะผู้เชี่ยวชาญของพันธมิตรเพือความก้าวหน้าได้แก่การวิเคราะห์ที่มิใช่อาชีพของการจ้างงานในส่วนท่ี่อุทิศตัวกับกำลังคน  และไม่มีแผนการศึกษาที่เกิดขึ้นบนพื้นฐานการพยากรณ์ความต้องการกำลังคน และการแปลเงื่อนไขของผลผลิตทางการศึกษา            รัฐบาลอาจไม่สามารถรวบรวมรายได้จากภาษีที่ครบกำหนดชำระ อันเนื่องจากความไม่น่าเชื่อถื