บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก สิงหาคม, 2012

สิ่งที่แตกต่างกันระหว่างธุรกิจในยุคศตวรรษที่ 20 และ 21

             จากแนวคิดของ Wayne F.Casio  ได้จำแนกความแตกต่างของของบริษัทในยุคศตวรรษที่ 20 และศตวรรษที่ 21 มีความแตกต่างกันตามตารางดังนี้              ลักษณะ                        ศตวรรษที่ 20                           ศตวรรษที่ 21              องค์การ                        เป็นแบบปิรามิด                         เป็นเวบหรือเครือข่าย              การมุ่งเน้น                     ภายใน                                    ภายนอก              สไตล์                           แบบมีโครงสร้าง                        แบบยืดหยุน              ที่มาของจุดแข็ง              ความมั่นคง                              มีการเปลี่ยนแปลง              โครงสร้าง                     แบบพึ่งตนเอง                           แบบพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน              ทรัพยากร                      มีทรัพย์สินเชิงกายภาพ                แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร              การดำเนินงาน                บูรนาการในแนวดิ่ง                     บูรนาการแบบจำลอง              ผลิตภัณฑ์                     สินค้

บทที่ 7 การวางแผนอาชีพและพัฒนาอาชีพ

7.1 ความหมายของการวางแผนอาชีพ (Career Planning)       คือกระบวนการที่ต่อเนื่องในตัวบุคคลในการกำหนดเป้าหมายอาชีพและแยกแยะปัจจัยที่จะบรรลุเป้าหมาย การวางแผนอาชีพโดยเฟรด ไพรซ์ ได้แก่ทางเดินอาชีพที่เขาคาดหวังในการนำเขาจากตำแหน่งระดับล่างไปสู่ตำแหน่งผู้จัดการโรงงาน จุดมุ่งสำคัญของการวางแผนอาชีพควรจะสอดคล้องกับเป้าหมายส่วนบุคคลในโอกาสต่าง ๆที่มีความเป็นจริงเท่าที่ทำได้ 7.2 ทางเดินอาชีพ (Career Path) คือเส้นทางความยืดหยุ่นในความเคลื่อนไหวโดยผ่านเส้นทางอาชีพที่กำหนดไว้ 7.3 การพัฒนาอาชีพ (Career Development) คือแนวทางที่เป็นทางการที่นำไปใช้ในองค์การเพื่อช่วยให้บุคลากรได้มาซึ่งทักษะ(Skill) และประสบการณ์ที่ต้องการเพื่อปฏิบัติงานปัจจุบันและอนาคต 7.4 ความมั่นคงในงาน (Job Security) และความมั่นคงในอาชีพ (Career Security) 7.5 ขั้นตอนอาชีพที่กระทบต่อชีวิต       7.5.1 ขั้นเติบโต (Growth Stage)       7.5.2 ขั้นสำรวจ (Exploration stage)       7.5.3 ขั้นบำรุงรักษา (Maintenance Stage)       7.5.4 ขั้นร่วงโรย (Decline Stage) 7.6 หลักเกี่ยวกับอาชีพ (Career Anchor)       7.6.1 สมรรถนะการจัดการ (man

บทที่ 6 การฝึกอบรมและพัฒนา (Training and Development)

6.1 ความหมายของ Training และ Development       การฝึกอบรมมุ่งออกแบบเพื่อสนองการเรียนรู้ในด้านความรู้และทักษะที่จำเป็นสำหรับงานปัจจุบัน       การพัฒนาเกี่ยวกับกับการเรียนรู้ที่จะก้าวไปข้างหน้าใช้เวลาระยะยาว 6.2 ความหมายขององค์การแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization)       "ความสามารถในการปรับตัวและเข้ากับการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง" 6.3 การเปลี่ยนแปลงองค์การและการฝึกอบรมและพัฒนา       6.3.1การเปลี่ยนแปลงในโครงสร้างอันเป็นสาเหตุจากการควบรวมกิจการ,การซื้อกิจการ,การเติบโต             อย่างรวดเร็ว,การลดขนาดแรงงานลง,และการจ้างเหมาบริการ       6.3.2 การเปลี่ยนแปลงในเทคโนโลยีและจำเป็นต้องมีพนักงานที่มีทักษะชั้นสูง       6.3.3 การเปลี่ยนแปลงระดับการศึกษาของบุคลากรสุงขึ้น แต่จำเป็นต้องมีการฝึกอบรมเพิ่มเติมแบบ             ซ่อมเสริม       6.3.4 การเปลี่ยนแปลงทรัพยากรมนุษย์,การส่งเสริมกำลังแรงงานหลากหลายที่มาจากบุคคลหลาย             กลุ่ม       6.3.5 มีแรงกดดันจากการแข่งขันซึ่งจำเป้นต้องมีหลักสูตรที่ยืดหยุ่น ได้แก่การฝึกอบรมแบบทันเวลา พอดี (Just in time training) และการฝึ

บทที่ 5 การสรรหาและคัดเลือกด

การสรรหา (Recruitment) 1. ทางเลือกในการสรรหา     ก.การจ้างเหมางานบริการ (Outsourcing)     ข. พนักงานตามสถานการณ์ (Contingent Workers)     ค. องค์การนายจ้างวิชาชีพ: การทำสัญญาจ้างพนักงาน (Employee leasing)     ง. งานล่วงเวลา (overtime) 2.สิ่งแวดล้อมภายนอกของการสรรหา     ก. สภาพตลาดแรงงาน     ข. ข้อพิจารณาทางตัวบทกฎหมาย     ค. ภาพพจน์บริษัท    2.1สิ่งแวดล้อมภายในของการสรรหา     ก.การวางแผนทรัพยากรมนุษย์     ข. นโยบายการเลื่อนขั้นเลื่อนตำแหน่ง     ค.ความรู้ของบุคลากรในบริษัท     ง. การเล่นพรรคเล่นพวก (nepotism)  3. กระบวนการในการสรรหา     ก.วิธีการสรรหาจากภายใน     ข. แหล่งสรรหาจากภายนอก         ก) วิทยาลัย และมหาวิทยาลัย         ข) วิทยาลัยชุมชน         ค) โรงเรียนอาชีวศึกษา         ง)คู่แข่งและบริษัทอื่น ๆ         จ) คนว่างงาน         ฉ) พนักงานสูงอายุ         ช) บุคลากรทหาร         ซ) พนักงานที่ดูแลตนเอง (self-employed workers)  4. หน่วยงานการจ้างงานภาครัฐและเอกชน         ก)นักสรรหา         ข) ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ         ค) การฝึกงาน         ง) หน่วยงานหา

การวิเคราะห์งานและการวางแผนทรัพยากรมนุษย์ บทที่ 4

  1. การวิเคราะห์งาน: เครื่องมือพื้นฐานในการจัดการทรัพยากรมนุษย์   2. ความหมายของ Job และ Position   3. แบบฟอร์ม Job Description และ Job Specification   4. เหตุผลในการใช้การวิเคราะห์งานเพื่ออะไร?       ก. การจัดหาบุคลากร (Staffing)       ข. การฝึกอบรมและพัฒนา (Training and Development)       ค. การจ่ายค่าตอบแทนและผลประโยชน์เกื้อกูล (Compensation and Benefit)       ง. สุขภาพและความปลอดภัย (Safety and Health)       จ. การแรงงานสัมพันธ์และพนักงานสัมพันธ์ (Employee and Labor Relation)       ฉ.การวินิจฉัยในตัวบทกฎหมาย (Legal Considerations)       ช. การวิเคราะห์งานเพื่อทีมงาน (Job Analysis Teams)   5. ประเภทของข้อมูลข่าวสารการวิเคราะห์งาน (Job Analysis Information)   6. วิธีการวิเคราะห์งาน   7. การนำวิเคราะห์งานไปใช้       ก. Job Description       ข. การกำหนดอัตลักษณ์ของบุคคล (Job Identification)           ก) วันที่วิเคราะห์งาน           ข) สรุปงานโดยย่อ (Job Summary)           ค) หน้าที่ที่ต้องทำ (Duties Performed)           ง) คำบรรยายลักษณะงานที่ขยายเพิ่มขึ้น (The

การสร้างสรรค์ร่วมกัน (Co-creation) ตอนที่หนึ่ง

รูปภาพ
                                              การสร้างสรรค์ร่วมกันนั้นหมายถึง   โดยรำพึงความหมายของ พราฮาลัด                 และ รามัสวามี ได้ชี้ชัด                           แต่งเติมตัดด้วยริเริ่มเพิ่มเสริมสร้าง                 เช่นลดกฎระเบียบตลาดใหม่                   รูปแบบในกฎระเบียบเป็นแบบอย่าง                 รวมเอาเทคโนโลยีอย่างกว้างขวาง          และแนวทางเกี่ยวกับอุตสาหกรรม                          และเชื่อมโยงทุกหนแห่งไม่เหินห่าง วิถีทางได้เปลี่ยนในมุมมอง                 ในโลกธุรกิจเป็นครรลอง                        ที่เกี่ยวดองสาเหตุการเปลี่ยนแปลง                 ปัจจัยเปลี่ยนธรรมชาติของลูกค้า             ทุกวันหนาได้รับข่าวสารแจง                 ในรุปแบบเครือข่าย,และแข็งแกร่ง            ลดกำแพงพรมแดนระดับโลก                          ปัจจัยดังกล่าวได้เปลี่ยนแปลง        รูปลักษณ์แห่งองค์การที่เปลี่ยนไป                 ปัจจุบันห่วงโซ่คุณค่าใหญ่                      ที่มิได้แยกย่อยเมื่อวันวาน                 ในส่วนกิจการที่มิใช่กายภาพ                   กร

วิศวกรสังคม (Social Engineer) มีบทบาทต่อการพัฒนาประเทศอย่างไร?

          วิศวกรสังคม คือหลักวิชาในทางรัฐศาสตร์ที่หมายถึงการปฏิบัติงานที่มีอิทธิพลต่อทัศนคติอย่างกว้างขวาง และในพฤติกรรมสังคมขนาดใหญ่ ไม่ว่าจะเป็นกลุ่มผู้ปฏิบัติงานภาครัฐและธุรกิจ  ในแวดวงทางการเมือง  การเข้าไปเกี่ยวข้องกับวิศวกรรมทางสังคมคือวิศวกรรมทางการเมือง  ด้วยเหตุผลนานาทัศนะ ความหมายของคำนี้จึงเป็นสิ่งที่แปดเปื้อนในความหมายที่แฝงไปด้วยในทางที่ไม่ดี อย่างไรก็ตามตัวบทกฎหมายและความเป็นธรรมรัฐได้มีผลกระทบเกี่ยวกับการแสวงหาการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและได้มีการพิจารณาคำว่าวิศวกรรมสังคมในขอบเขตหลายประการ   สิ่งที่เป็นข้อห้ามทางกฎหมายได้แก่การก่ออาชญากรรม,การข่่มขืน,การฆ่าตัวตายและการทิ้งขยะล้วนแล้วแต่เป็นนโยบายที่มีจุดประสงค์เพื่อพฤติกรรมที่ไม่พึงปรารถนาที่ทำให้สิ้นหวัง   ในขอบเขตอำนาจศาลของชาวอังกฤษและแคนาดา  การเปลี่ยนแปลงทัศนคติต่อสาธารณะเกี่ยวกับพฤติกรรมใดพฤติกรรมหนึ่งเป็นที่ยอมรับว่าเป็นหน้าที่ที่สำคัญประการหนึ่งของข้อห้ามตามตัวบทกฎหมาย   รัฐบาลยังมีอิทธิพลมากโดยผ่านสิ่งจูงใจและสิ่งไม่จูงใจในนโยบายเศรษฐกิจและนโยบายภาษี ตัวอย่างเช่นสิ่งที่ได้ทำสำเร็จไปแล้วมาเป็นเวลากว่าศตวรรษ      

ตัวแบบวุฒิภาวะความสามารถ (Capability Maturity Model)ตอนที่หนึ่ง

รูปภาพ
                               ตัวแบบวุฒิความสามารถนั้น     สิ่งสร้างสรรค์แบบองค์การบริหาร          อธิบายห้าขั้นตอนวิวัฒนาการ              เกี่ยวข้องงานกระบวนการในองค์การ          ในความคิดเบื้องหลังของแบบอย่าง      แนวทางสร้างพัฒนาซอฟแวร์งาน          องค์การควรดูดซับพร้อมขับขาน           เพื่อเป็นฐานประยุกต์ใช้ในซอฟแวร์                     ตัวแบบยังมีขั้นตอนเฉพาะด้าน  กิจกรรมงานระดับหนึ่งและรุดหน้า          ห้าขั้นตอนแบบวุฒิสามารถหนา            หนึ่งนำพากระบวนการเป็นพื้นฐาน (initial)          ในแบบอย่างชั่วคราวแลสับสน             สองสืบผลซ้ำซากกำหนดงาน (repeatable)             โดยยึดมั่นกระบวนการ อย่างเหนียวแน่น  สามจับแก่นนิยามทุกกระบวนการ (defined)                 ทุกอย่างบูรนาการมาตรฐาน                สี่จัดการรวม่ข้อมูล,คุณภาพ (managed)                      ห้าเน้นผลลัพธ์ (optimizing) สูงสุดบริหาร เพื่อจัดการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง          เพื่อปรับปรุงทบทวนเทิดรุ่งเรือง           เป็นประเทืองคิดใหม่,เทคโนโลยี           ตัวแบบวุฒิภาวะของซอฟแวร์        

วัฒนธรรมองค์การ 3 ระดับ โดยเอ็ดการ์ ไชน์ (Schein)

        วัฒนธรรมล้อมรอบในตัวเรา      ที่แนบเนาว์ลึกซึ้งสนิทแน่น ทั้งแพร่หลายซับซ้อนในแบบแผน       ในตามแก่นทัศนะเอ็ดการ์ไชน์ ไม่อาจเข้าใจเรียนรู้ในองค์การ           รวมทั้งงานพัฒนาที่ยิ่งใหญ่ และเปลี่ยนแปลงตามแผนที่วางไว้      มุ่งภายในประเด็นไม่มาคิด          ว่าวัฒนธรรมเปรียบดังเฉกเช่น  แหล่งที่เป็นพื้นฐานในที่มา ของการต่อต้านการเปลี่ยนแปลงหนา  พิจารณาว่าสำคัญที่ควรมอง ยิ่งผู้บริหารนั้นไร้สำนึก                    ควรตรองตรึกการแพร่หลายของทั้งผอง เพื่อจัดการวัฒนธรรมมุ่งหมายปอง     สนใจมองว่าสำคัญต่อทุกคน          สิ่งสำคัญสามประการความคิดของ ตามครรลองทัศนะเอ็ดการ์ไชน์ หนึ่ง สิ่งผิวเผิน (artifact) บังเกิดฉาบทาไว้   สิ่งนันไซร้ได้แก่เครื่องแต่งกาย เป็นสิ่งเห็นมองง่ายเมื่อเล็งเห็น         แต่สิ่งเป็นยากเข้าใจอย่างง่ายดาย สอง ค่านิยมที่กระตุ้นและปลุกเร้า (espoused value) ที่คลุกเคล้ากลยุทธ์และเป้าหมาย           รวมทั้งปรัชญาผสมอย่างแยบคาย ที่กลับกลายเป็นประเด็นการจัดการ สาม สมมติฐานค่านิยมเป็นพื้นฐาน        คือสะพานแก่นแกน,สาระดี ในวัฒนธรรมอยู่ภายใต้ในก้นบึ้ง

โอกาสการจ้างงานที่เท่าเทียมกันและการสร้างความเป็นธรรม (EEO and Affirmative Action) บทที่ 3

กฎหมายที่มีผลกระทบต่อการโอกาสการจ้างงานที่เท่าเทียม       ก. พระราชบัญญัติสิทธิพลเมือง (1896)       ข. มาตรา 7 ของพระราชบัญญัติสิทธิพลเมืองแก้ไขเพิ่มเติม(1964)       ค. พระราชบัญญัติการไม่แบ่งแยกอายุในการจ้างงานแก้ไขเพิ่มเติมในปี ค.ศ.1978 และ 1986       ง. พระราชบัญญัติการฟื้นฟูสมรรถภาพ (1973)       จ. พระราชบัญญัติการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับการตั้งครรภ์ (1978)       ฉ. พระราชบัญญํติการควบคุมดูแลผู้อพยพ       ช. พระราชบัญญัติคนด้อยสมรรถภาพชาวอเมริกัน (ADA) (1990)       ฌ. พระราชบัญญัติสิทธิพลเมือง (1991)       ญ. กฎหมายรัฐและท้องถิ่น (1978,1986,2000)       ฎ. คำสั่งผู้บริหารระดับสูง EO 11246  -Affirmative Action       ฐ. คำวินิจฉัยศาลสูงอเมริกัน       ฑ. คณะกรรมาธิการเกี่ยวกับการจ้างงานที่เท่าเทียมกัน โปรแกรมการจ้างงานที่เป็นธรรม (Affirmative Action Programs)             

สิ่งแวดล้อมของการจัดการทรัพยากรมนุษย์ (2)

พลวัตรของการจัดการทรัพยากรมนุษย์ (Dynamic HRM)        สิ่งแวดล้อมภายนอก         ก. กำลังแรงงาน (Labor Force)         ข. การพิจารณาในแง่กฎหมาย (Legal Consideration)         ค. สมาคม (Society)หรือสังคม เกี่ยวกับความรับผิดชอบต่อสังคม         ง. สหภาพ (Labor Union)         จ. หุ้นส่วน (Share Holder)         ฉ. การแข่งขัน (Competition)         ช. ลูกค้า (Customer)         ซ. เทคโนโลยี (Technology)         ฌ. ระบบเศรษฐกิจ (Economy) ปัจจัยสิ่งแวดล้อมภายนอก : เชิงรุกหรือตั้งรับ (Proactive or Reactive)         สิ่งแวดล้อมภายใน ได้แก่         ก. ภารกิจ (Mission)         ข. นโยบาย (Policies)         ค. วัฒนธรรมองค์การ         ง. ลีลาการจัดการของผู้จัดการระดับสูง         จ. บุคลากร (Employee)         ฉ. องค์การที่ไม่เป็นทางการ         ช. หน่วยงานอื่น ๆ ขององค์การ         ซ. ข้อตกลงในการจัดการแรงงาน การจัดการกำลังแรงงานที่หลากหลาย         ก. แม่ทำงาน         ข. สตรีในธุรกิจ         ค. ครอบครัวเดียวแต่สองอาชีพ         ง. พนักงานที่มีผิวพันธ์ต่างกัน         จ. พนักงานอาวุโ

power point on human resource management ตอนที่หนึ่ง

รูปภาพ
              การบริหารทรัพยากรมนุษย์ ( HRM ) • ความหมาย : คือการใช้ประโยชน์จากบุคลากรเพื่อบรรลุถึงวัตถุประสงค์ขององค์การ  โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งในทุกองค์การผู้บริหารทุกระดับล้วนเกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรมนุษย์ • ขอบเขตหน้าที่การงาน 6 ด้าน ( six functional area ) • 1. human resource planning,recruitment and selection • 2. human resource development • 3. compensation and benefit • 4. safety and health • 5 . employee and labor relation • 6. human resource research -การจัดการทรัพยากรมนุษย์คือสิ่งที่ปฏิบัติได้ในโลกที่แท้จริง? -ทิศทางแนวโน้มการปรับโครงสร้าง: ใครคือบุคคลที่ปฏิบัติงานด้านการจัดการทรัพยากรมนุษย์? -ศูนย์บริการแบ่งปัน (Shared Service Center) เป็นกิจกรรมแลกเปลี่ยนข่าวสาร มีการรวมรวม ข้อมูลข่าวสารทั้งหมดมาไว้ในที่เดียว  -บริษัทจ้างเหมางาน (Outsourcing Firm) บริษัทลดปัญหาในการรับผิดชอบโดยการจ้างเหมา งานบริการมาทำแทน เพื่อลดความเครียด,เวลา,ความยุ่งยากของงานลงฯลฯ        ก.ช่วยลดต้นทุน        ข.ลดพลังงานในการแก้ปัญหาเชิงกลยุทธ์มากขึ้น       

การทำงานอย่างฉลาด (Working Smart)

             การประสบสำเร็จในตัวงาน      มิใช่การทำงานหนักเหนื่อยแค่ใหน อยู่ที่การทำงานชาญฉลาดไซร้              ทำตัวให้ยุ่งอยู่ตลอดเวลา เสมือนมดที่วิ่งวุ่น ๆอยู่ทุกวัน                 แต่รู้ทันธุระยุ่งเหยิงหนา กลเม็ดความสำเร็จที่ก้าวหน้า                มีอยู่ห้าวิธีที่ทำกัน             หนึ่งทำสิ่งเร่งด่วนหรือเสียงดังกว่า  หมายความว่าเรามักพบคำร้องขอ เป็นเรื่องด่วนแท้จริงไม่ควรรอ                เลิกคุยจ้อขอตัวเพื่อสร้างสรรค์ สองต้องทำสิ่งยากท้าทายก่อน              งานที่จรมีคุณค่ามากกว่ากัน หากงานง่ายคุ้มค่าเมื่อยืนยัน                 เวลานั้นใช้น้อยก็ควรทำ              สามทำสิ่งที่ค้างคาไม่ผ่อนผัน  เพื่อประกันว่างานสำเร็จผล แต่ลำดับความสำคัญกระจ่างจน             จงผ่อนปรนทำตามลำดับไป หากไม่สำคัญก็จัดลำดับท้าย                 งานท้าทายเริ่มก่อนกว่างานใหน งานสำคัญเร่งด่วนต้องทำไว                 องค์การได้ผลงานทีต้องการ              สี่ทำสิ่งใช้สมองกว่าสิ่งใด       สมควรได้ผลลัพธ์สนับสนุน หากงานง่ายทำไปไม่ได้คุณ                  ไม่เจือจุนเป้าหมายหลักที่สำคัญ เพราะทำไปเสี