ความหมายของการจัดการทรัพยากรมนุษย์
ในปี ค.ศ.1980 ไ้ด้เกิดแนวคิดซึ่งหมายถึงความต้องการในการจัดการเกี่ยวกับทักษะ และสมรรถนะอย่างระแวดระวัง ในการผนวกเอาทักษะและสมรรถนะที่แสดงถึงแรงผลักดันจากการเปลี่ยนแปลง เพื่อความอยู่รอด และได้รับประโยชน์ในความได้เปรียบเชิงแข่งขัน องค์การจะต้องมีการเน้นคุณภาพของทรัพยากรมนุษย์ในระดับหนึ่งซึ่งไม่เคยเป็นเช่นนี้มาก่อน
ในขอบเขตและวิถีทางของการเปลี่ยนแปลงที่ระบุจากการก่อกำเนิดที่แสดงถึงองค์การสามารถปฏิบัติตามการเปลี่ยนแปลงกลยุทธ์ตามแผนที่วางไว้โดยการส่งเสริมกลยุทธ์การจัดการทรัพยากรมนุษย์ ในการตอบสนองการเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ ในปรัชญาความแตกต่างอย่างรุนแรงและแนวทางของการจัดการเกี่ยวกับบุคลากรในการทำงานที่เรียกว่าการจัดการทรัพยากรมนุษย์ (HRM) ได้มีการแพร่หลายเพิ่มขึ้น (Storey, 1989) การจัดการทรัพยากรมนุษย์ได้ให้ทัศนะว่าเป็นกระบวนการของการวิเคราะห์ความต้องการในทรัพยากรมนุษย์องค์การภายใต้สถานการณ์ที่กำลังมีการเปลี่ยนแปลงและการปรับปรุงกิจกรรมเท่าที่จำเป็นเพื่อสร้างความพึงพอใจในความต้องการเหล่านี้ แนวทางเช่นนี้ได้นำมาบูรนาการนโยบายทรัพยากรมนุษย์ด้วยการวางแผนธุรกิจเิชิงกลยุทธ์ เพื่อส่งเสริมวัฒนธรรมที่เหมาะสมในองค์การ และการฉุดดึงจุดเน้นการจัดการงานบุคคลเพื่อการตอบสนองของแต่ละบุคคล
มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (โดยเบียร์, วอลตัน, และสเปรคเตอร์และลอเรนซ์, 1984) ให้คำจำกัดความว่าคือจำนวนของขอบเขตนโยบายที่ผู้จัดการทั่วไปสามารถเคลื่อนไหวในการตอบสนองการกำหนดกลยุทธ์ที่แตกต่างกันเพื่อที่นำไปสู่ผลลัพธ์ที่สำคัญ 4 ประการภายในองค์การซึ่งได้แก่
- สมรรถนะของบุคลากร
- ความผูกพันต่อองค์การ
- ส่วนประสมระหว่างเป้าหมายของบุคลากรและองค์การ
- ประสิทธิผลของการปฏิบัติงานทรัพยากรมนุษย์
ในแต่ละนโยบายที่แสดงออกถึงงานที่สำคัญที่ผู้จัดการทั่วไปต้องบรรลุถึงงานดังนี้
- กระแสของบุคคลในทุกระดับโดยเข้ามาปฏิบัติงานและออกจากองค์การเพื่อจะมีจำนวนบุคลากรที่เหมาะสมด้วยส่วนผสมสมรรถนะที่เหมาะสม (นโยบายการเข้าออกของทรัพยากรมนุษย์)
- การออกแบบระบบรางวัลในการดึงดูด,จูงใจ และรักษาบุคลากรในทุกระดับ (นโยบายระดับรางวัล)
- การนิยามและออกแบบงานโดยจัดเตรียมบุคลากร, ข้อมูลข่าวสารและเทคโนโลยี่ (นโยบายระบบการทำงาน)
- การพิจารณาระดับความรับผิดชอบ, อำนาจหน้าที่,อำนาจแฝง,การมอบหมายงาน และการตัดสินใจ (อิทธิพลของบุคลากร)
กิจกรรมทรัพยากรมนุษย์เป็นทัศนะที่มาจากแนวคิดเชิงธุรกิจ ดังเช่นกิจกรรมที่เห็นได้ในบริบทของกลยุทธ์ธุรกิจและแผนปฏิบัติงาน และการเผยแพร่ในสายตาของสายงานระดับล่างซึ่งกำหนดแนวทางโดยมีข้อกำหนดดังนี้
- การจัดการทรัพยากรมนุษย์เป็นการถ่วงดุลทัศนะเกี่ยวกับจำนวนผู้ถือหุ้นเช่นหุ้นส่วน,บุคลากร,ลุกค้า และผู้จัดหาสินค้า
- นโยบายที่รักษาผลประโยชน์ขององค์การ ทั้งในด้านปัจเจกชนและสังคม
- จะต้องมีระัดับความสอดคล้องหรือความเหมาะสมระหว่างขอบเขตนโยบายในระดับเบื้องบน
- สีิงที่จะบรรลุความสำเร็จโดยการเชื่อมโยงการจัดการเกี่ยวกับทรัพยากรมนุษย์ที่มีต่อกลยุทธ์ธุรกิจ
- ดังนั้นการจัดการทรัพยากรมนุษย์จึงเป็นส่วนหนึ่งของหน้าที่การจัดการทั่วไปและไม่สามารถมอบหมายความชำนาญการตามหน้าที่การงานได้
ในขอบเขตและวิถีทางของการเปลี่ยนแปลงที่ระบุจากการก่อกำเนิดที่แสดงถึงองค์การสามารถปฏิบัติตามการเปลี่ยนแปลงกลยุทธ์ตามแผนที่วางไว้โดยการส่งเสริมกลยุทธ์การจัดการทรัพยากรมนุษย์ ในการตอบสนองการเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ ในปรัชญาความแตกต่างอย่างรุนแรงและแนวทางของการจัดการเกี่ยวกับบุคลากรในการทำงานที่เรียกว่าการจัดการทรัพยากรมนุษย์ (HRM) ได้มีการแพร่หลายเพิ่มขึ้น (Storey, 1989) การจัดการทรัพยากรมนุษย์ได้ให้ทัศนะว่าเป็นกระบวนการของการวิเคราะห์ความต้องการในทรัพยากรมนุษย์องค์การภายใต้สถานการณ์ที่กำลังมีการเปลี่ยนแปลงและการปรับปรุงกิจกรรมเท่าที่จำเป็นเพื่อสร้างความพึงพอใจในความต้องการเหล่านี้ แนวทางเช่นนี้ได้นำมาบูรนาการนโยบายทรัพยากรมนุษย์ด้วยการวางแผนธุรกิจเิชิงกลยุทธ์ เพื่อส่งเสริมวัฒนธรรมที่เหมาะสมในองค์การ และการฉุดดึงจุดเน้นการจัดการงานบุคคลเพื่อการตอบสนองของแต่ละบุคคล
มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (โดยเบียร์, วอลตัน, และสเปรคเตอร์และลอเรนซ์, 1984) ให้คำจำกัดความว่าคือจำนวนของขอบเขตนโยบายที่ผู้จัดการทั่วไปสามารถเคลื่อนไหวในการตอบสนองการกำหนดกลยุทธ์ที่แตกต่างกันเพื่อที่นำไปสู่ผลลัพธ์ที่สำคัญ 4 ประการภายในองค์การซึ่งได้แก่
- สมรรถนะของบุคลากร
- ความผูกพันต่อองค์การ
- ส่วนประสมระหว่างเป้าหมายของบุคลากรและองค์การ
- ประสิทธิผลของการปฏิบัติงานทรัพยากรมนุษย์
ในแต่ละนโยบายที่แสดงออกถึงงานที่สำคัญที่ผู้จัดการทั่วไปต้องบรรลุถึงงานดังนี้
- กระแสของบุคคลในทุกระดับโดยเข้ามาปฏิบัติงานและออกจากองค์การเพื่อจะมีจำนวนบุคลากรที่เหมาะสมด้วยส่วนผสมสมรรถนะที่เหมาะสม (นโยบายการเข้าออกของทรัพยากรมนุษย์)
- การออกแบบระบบรางวัลในการดึงดูด,จูงใจ และรักษาบุคลากรในทุกระดับ (นโยบายระดับรางวัล)
- การนิยามและออกแบบงานโดยจัดเตรียมบุคลากร, ข้อมูลข่าวสารและเทคโนโลยี่ (นโยบายระบบการทำงาน)
- การพิจารณาระดับความรับผิดชอบ, อำนาจหน้าที่,อำนาจแฝง,การมอบหมายงาน และการตัดสินใจ (อิทธิพลของบุคลากร)
กิจกรรมทรัพยากรมนุษย์เป็นทัศนะที่มาจากแนวคิดเชิงธุรกิจ ดังเช่นกิจกรรมที่เห็นได้ในบริบทของกลยุทธ์ธุรกิจและแผนปฏิบัติงาน และการเผยแพร่ในสายตาของสายงานระดับล่างซึ่งกำหนดแนวทางโดยมีข้อกำหนดดังนี้
- การจัดการทรัพยากรมนุษย์เป็นการถ่วงดุลทัศนะเกี่ยวกับจำนวนผู้ถือหุ้นเช่นหุ้นส่วน,บุคลากร,ลุกค้า และผู้จัดหาสินค้า
- นโยบายที่รักษาผลประโยชน์ขององค์การ ทั้งในด้านปัจเจกชนและสังคม
- จะต้องมีระัดับความสอดคล้องหรือความเหมาะสมระหว่างขอบเขตนโยบายในระดับเบื้องบน
- สีิงที่จะบรรลุความสำเร็จโดยการเชื่อมโยงการจัดการเกี่ยวกับทรัพยากรมนุษย์ที่มีต่อกลยุทธ์ธุรกิจ
- ดังนั้นการจัดการทรัพยากรมนุษย์จึงเป็นส่วนหนึ่งของหน้าที่การจัดการทั่วไปและไม่สามารถมอบหมายความชำนาญการตามหน้าที่การงานได้
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น