กรอบคิดในการแก้ปัญหาการจัดการทรัพยากรมนุษย์
เพื่อตอบสนองการเปลี่ยนแปลงเชิงกลยุทธ์ในกึ่งปี ค.ศ.1980 องค์การมีปฏิกิริยาในหลายวิถีทาง กลุยทธ์การจัดการทรัพยากรมนุษย์ได้หันพยายามเพิ่มคุณค่าให้กับองค์การโดยการจำแนกแยกแยะ,การวิเคราะห์ และการนำชุดของกรรมวิธีการดำเนินงานและกิจกรรมที่แก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับตัวบุคคลไปใช้ สิ่งที่เกี่ยวข้องเชือมโยงกับตัวบุคคลสามารถสรุปในแง่ปฏิกิริยา 6 ประการได้แก่
1. การเรียนรู้โดยการกระทำ
2. การลดต้นทุนและการทำงานให้ง่ายขึ้น
3. การเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง
4. โปรแกรมการเปลี่ยนแปลงในขอบเขตที่กว้างขวาง และการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม
5. การวางแผนทรัพยากรมนุษย์
6. การพัฒนาทรัพยากร
ในแต่ละกลยุทธ์ที่นำมากล่าวในที่นี้เป็นการมุ่งเน้นกิจกรรมเฉพาะด้าน ธรรมชาติของกิจกรรมกลับปรากฎมากขึ้นเมื่อองค์การสามารถแสดงความคิดเห็นผู้บริหารในรูปแบบต่าง ๆ เกี่ยวกับองค์การของตนเองในการคิดเกี่ยวกับแรงกดดันที่ผู้บริหารรองรับ ผู้บริหารมีแนวโน้มมักด่วนสรุป เช่นอธิบายว่า "พวกเราไม่ได้มีทัศนคติที่ถูกต้องและมีวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับที่นี่" และภายใตุ้การกระทำในการนำเอาการแก้ปัญหาที่แตกต่างกัน แต่อันตรายก็คือองค์การมีแนวโน้มมุ่งเน้นขอบเขตที่แสดงถึงค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่มีวิถีก้าวเพียงวิธีเดียวในการปรับปรุงองค์การที่เกิดขึ้นเป็นปรกติประจำวัน หรือการเปลี่ยนแปลงขนานใหญ่ แนวทางต่าง ๆ ไม่สามารถเป็นอิสระต่อกันและกรณีส่วนมากรูปแบบเดียวของการมุ่งเน้นจะต้องนำรูปแบบอื่น ๆ ด้วย เช่นองค์การต้องก้าวกระโดดในการนำเอาสิ่งที่มีการปรับปรุงในการจัดการทรัพยากรมนุษย์
1. การเรียนรู้โดยการกระทำ
2. การลดต้นทุนและการทำงานให้ง่ายขึ้น
3. การเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง
4. โปรแกรมการเปลี่ยนแปลงในขอบเขตที่กว้างขวาง และการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม
5. การวางแผนทรัพยากรมนุษย์
6. การพัฒนาทรัพยากร
ในแต่ละกลยุทธ์ที่นำมากล่าวในที่นี้เป็นการมุ่งเน้นกิจกรรมเฉพาะด้าน ธรรมชาติของกิจกรรมกลับปรากฎมากขึ้นเมื่อองค์การสามารถแสดงความคิดเห็นผู้บริหารในรูปแบบต่าง ๆ เกี่ยวกับองค์การของตนเองในการคิดเกี่ยวกับแรงกดดันที่ผู้บริหารรองรับ ผู้บริหารมีแนวโน้มมักด่วนสรุป เช่นอธิบายว่า "พวกเราไม่ได้มีทัศนคติที่ถูกต้องและมีวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับที่นี่" และภายใตุ้การกระทำในการนำเอาการแก้ปัญหาที่แตกต่างกัน แต่อันตรายก็คือองค์การมีแนวโน้มมุ่งเน้นขอบเขตที่แสดงถึงค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่มีวิถีก้าวเพียงวิธีเดียวในการปรับปรุงองค์การที่เกิดขึ้นเป็นปรกติประจำวัน หรือการเปลี่ยนแปลงขนานใหญ่ แนวทางต่าง ๆ ไม่สามารถเป็นอิสระต่อกันและกรณีส่วนมากรูปแบบเดียวของการมุ่งเน้นจะต้องนำรูปแบบอื่น ๆ ด้วย เช่นองค์การต้องก้าวกระโดดในการนำเอาสิ่งที่มีการปรับปรุงในการจัดการทรัพยากรมนุษย์
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น