โดย นายโรเจอร์ มาร์ติน

          จากหนังสือของโรเจอร์ มาร์ตินได้แสดงทัศนะสองประการในปัจจุบันนี้  เขาเป็นคณบดีของมหาวิทยาลัยสถาบันการจัดการรอทแมนในเมืองโตรอนโต และเป็นศาสตราจารย์สาขาการจัดการเชิงกลยุทธ์ในมหาวิทยาลัยแห่งนี้   ทัศนะความคิดประการหนึ่งที่มองเห็นความคิดเชิงวิเคราะห์และการวิเคราะห์เชิง ปริมาณเช่นเดียวกันกับพื้นฐานของการสร้างคุณค่า (Value creation)  นอกจากนี้ยังมีทัศนะอื่น ๆในเรื่องความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่เป็นแนวคิดพื้นฐาน   ไม่มีความคิดใด ๆทั้งหลายที่จะทำได้เพียงลำพัง  ดังคำกล่าวขน  องมาร์ติน   ยิ่งกว่าธุรกิจที่ประสบความสำเร๋็จมากที่สุดในหลายปีที่จะเกิดขึ้นอันจะ สร้างความสมดุลย์แบบฉบับความคิดเชิงวิเคราะห์ และแนวคิดดั้งเดิมที่เป็นแรงดลใจในการมษอิทธิพลซึ่งกันและกันเชิงพลวัตรที่ ผู้เขียนเรียกว่า "การออกแบบความคิด"   มาร์ตินได้พรรณนาว่ารูปแบบควาาคิดนี้มีรากฐานมาจากว่าความรู้นั้นมความก้าว หน้าจากขั้นแรกไปสู่อีกขั้นหนึ่งได้อย่างไร? ซึ่งจากต้นแบบ (mystery) ซึ่งบางอย่างเราไม่สามารถอธิบายได้นำไปสู่องค์รวม (หรือเรียกว่ากฎของหัวแม่มือ (a rule of thumb)  ไปสู่ที่เรียกว่าขั้นตอนวิธี (สูตรสำหรับการแสวงหาคำตอบที่คาดคะเนได้) นำไปสู่กำหนดรหัส (เมื่อสูตรนั้นกลับมาเป็นสิ่งอัตโนมัติอย่างสมบูรณ์ที่คาดคะเนได้เช่นกัน)  ในฐานะที่ความก้าวหน้าเกี่ยวกับความรู้ข้ามพ้นขั้นตอนเหล่านี้  ผลผลิตสูงขึ้นและต้นทุนลดลง คือการสร้างคุณค่าเพื่อบริษัท    มาร์ตินแสดงถึงวิธีการที่เซอร์ควี ดู โซเลอีล, พร้อคเตอร์แอนด์แกมเบิ้ล, เฮอร์แมน มิลเล่อร์ ริม (RIM) และผู้นำคนอื่น ๆ ใช้การออกแบบความคิดในการผลักดันความรู้โดยผ่านขั้นตอนเหล่านี้ในวิถีทางที่ ก่อให้นวัตกรรมที่ก้าวหน้าและได้เปรียบเชิงแข่งขัน (competive advantage)
          ในหนังสื่อนี้บทที่หนึ่ง แสดงถึงเส้นทางของความรู้ที่ได้จากพี่ชายบริษัทแมคโดนัลด์ที่ชื่อ เรย์ ครอก และผู้สร้างสรรค์ธุรกิจที่ประสบความสำเร็จในทุกมิติ  ในบทที่สองเป็นการนำเอาอคติที่มีต่อความน่าเชื่อถือมากกว่าความแม่นตรง (validity) และความต้องการในสิ่งสำคัญเพื่อบริษัท "เป็นการนำเอาความแม่นตรงรวมเข้าด้วยกันนำไปสู่วัฒนธรรมที่สร้างความน่า เชื่อถือ (reliability culture) ในบทที่สามเกี่ยวกับการออกแบบความคิดการให้เหตุผล "ที่ขับเคลื่อนจุดความคิดจากสัญชาติญาณเพื่อก้าวข้ามช่องว่างที่แบ่งแยกโลก ใบนี้ในฐานะที่่มันมาจากโลกที่มันควรจะเป็น"   ในบทที่สี่อธิบายถึงวิธีการที่เอ.จี.ลาฟเล่ย์จากบริษัทพร้อคเตอร์ แอนด์แกมเบิ้ลได้ปรับเปลี่ยนบริษัทที่ติดยึดแบบแผนเก่า ๆไปสู่องค์การออกแบบความคิด  เป็นการขับเคลื่อนที่ผลักดันความรู้ให้เร็วที่สดเท่าที่จะเร็วได้ และวิธีการที่เขาเอาชนะที่อยู่เหนือนักวิเคราะห์แบบเคลือบแคลงสงสัยในกระบวน การ   บทที่ห้าเป็นการให้ความสำคัญในวิถีทางในโครงสร้างขององค์การ,กระบวนการและ ปทัสถานที่สามารถช่วยให้หรือออกแบบความคิดที่ซ่อนเร้นอยู่   บทที่ 6 อธิบายผู้นำความคิดในการออกแบบที่สามารถกระทำแบบเหมือนคนเฝ้าติดตามของแม่น ตรงกับการปกป้องบริษัทที่ต่อต้านความโน้มเอยงที่จะยินยอมให้จัดวางความรู้ใน ฐานะที่เป็นขั้นปัจจุบัน


ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ระบบการเมืองที่ดีเหมือนปลาในอ่างแก้วที่มองเห็นตัวปลาชัดเจน

108 คำคมขงเบ้ง คำคมสอนใจ จากขงเบ้ง

วิศวกรสังคม (Social Engineer) มีบทบาทต่อการพัฒนาประเทศอย่างไร?