การผสมผสานหลักสูตรธุรกิจกับการออกแบบความคิด ตอนที่สอง


           ในการสัมภาษณที่ริเริ่มโดยนายเดวิด ดูนน์ (2006), โรเจอร์ มาร์ติต นักวิชาการชั้นนำเกี่ยวกับการออกแบบความคิด  โดยเฉพาะอย่างยิ่งการศึกษาธุรกิจจะมีการเตรียมการผู้เรียนเพื่อเป็นไปตามความต้องการของธุรกิจยุคปัจจุบันทีดีขึ้นกว่าเดิม   ในความหมายทั่วไปการออกแบบความคิดหมายถึงการเข้าถึงปัญหาทางการจัดการดังเช่นนักออกแบบที่เกี่ยวกับปัญหาการออกแบบแนวคิดเชิงศิลปะ ในแต่ละแนวคิดดูนน์ให้ข้อสรุป (โดยขึ้นอยู่กับการสัมภาษณ์กับมารติน,2006) ได้แก่องค์ประกอบการรับรู้,ทัศนคติ,และความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลที่ดำเนินการเกี่ยวข้องกับการศึกษาและการปฏิบัติงานทางด้านธุรกิจที่เป็นแบบดั้งเดิม   แต่นั้่นคือคุณลักษณะของบุคคลทางด้านการออกแบบและธุรกิจที่ประสบความสำเร็จมากที่สุด
            ตั้งแต่ 10 ปีที่ผ่านมา เฮอร์เบอร์ต ไซมอน (1966) เรียกว่าการกำเนิดขององค์ความรู้ที่เข้มงวดเกี่ยวกับกระบวนการออกแบบที่เป็นปัจจัยสำคัญของแนวทางเข้าถึงปัญหาในทางการจัดการ  การอภิปรายได้ดำเนินการต่อเนื้องตั้งแต่นั้นมา ได้แก่ผลงานของแอดเล่อร์,2006 และคณะ   นักวิชาการหลายคนที่กล่าวมาให้ความเห็นแบบเส้นคู่ขนานระหว่างการออกแบบและธุรกิจที่ได้ทดสอบคุณค่าการเข้าถึงธุรกิจจากแนวคิดในเชิงการออกแบบ

ความคิดในเชิงธุรกิจและการออกแบบความคิด (Business thinking and design thinking)
           สืบเนื่องจากแนวคิดเชิงสหวิทยาการที่เกิดขึ้นอย่างท้าทาย,  ธรรมชาติของงานนั้นเน้นศูนย์กลางที่ผู้ใช้   นักออกแบบได้มีการพัฒนาวิถีทางทั่วไปของการเข้าถึงปัญหาที่แตกต่างในหลายกรณีจากสไตล์ธุรกิจแบบดั้งเดิม (Dunne and Martin,2006)  อย่างไรก็ตามคนโดยมากมองว่าแนวคิดเชิงออกแบบเชื่อมโยงกับพื้นฐานทางธุรกิจซึ่งมีศักยภาพต่อการเป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานทางธุรกิจอย่างมหาศาล   ดังเช่นสิ่งที่มีการสาธิตในบริษัทที่มีการว่าจ้างการหลอมรวมหลักการหรือนักศึกษาที่ได้เข้ารับมีการฝึกอบรมมาแล้ว   ตัวอย่างเช่นบริษัทจีอี, กูเกิ้ล, ไอดีอีโอ, อินเทล,จอห์นสันแอนด์จอห์นสัน, เมย์แทก, แมคโดนัลด์, โมโตโรลา,ไนกี้, พร้อคเตอร์แอนด์แกมเบิ้ล, และเวอร์พูล (Hempel adn McConnon,2006)
            ในการสุรปจากการสัมภาษณ์ของเขากับมาร์ติน   ดูนน์(2006) ให้ข้อเสนอแนะว่าแนวทางของนักออกแบบได้แก่ (1) มีความคาดหวัง และทัศนคติที่ว่าเราทำได้เกี่ยวกับปัญหาที่เลวร้ายมักได้แก่ข้อจำกัดซึ่งมารติน (2006) ให้ทัศนะว่าแม้ว่าจะเป็นแหล่งของการสร้างแรงดลใจ  (2) การสร้างไอเดียหรือการให้เหตุผลแบบนิรนัย (deductive)และการให้เหตุผลแบบอนุมาน (inductive) ที่นำไปใช้ในความคิดเชิงธุรกิจ  และ (3) ทักษะเชิงตอบโต้ (interactive skills) โดยเฉพาะอย่างยิ่งความร่วมมือและการเห็นอกเห็นใจ   ซี่งบ่อยครั้งมากจะได้รับการยอมรับนับถือจากเพื่อนร่วมงานและลูกค้า   เมื่อเปรียบเทียบสิ่งี้กับสิ่งที่มารติน (2006) อธิบายว่าเป็นแนวทางการจัดการแบบดั้งเดิมได้แก่ (ก) ความคาดหวังที่ปัญหาจะสามารถตระหนักได้และแก้ปัญหาได้กับวิธีการแบบโบราณดั้งเดิม  (ข) ความเชื่อมั่นเกี่ยวกับนิรนัยและเหตุผลแบบอนุมานอย่างเดียว เพราะว่าความคิดใหม่ (การให้เหตุผลแบบนิรนัย) ไม่เป็นที่น่าเชื่อถือ และ (ค) บทบาทที่จำกัดตัวเอง  เป็นการขาดการปรึกษากับเพื่อนร่วมงานและลูกค้า   แน่นอนมีสิ่งยกเว้น แต่การแสดงถึงปัจจัยอย่างกว้างขวางแสดงให้เห็นถึงภาวะการณ์ทั่วไป ตามที่มาร์ตินและคนอื่น ๆ ส่วนมาก
          ในแง่ของการสนับสนุนสำหรับการต่อยอดความคิดในการออกแบบในการปฏิบัติงานทางธุรกิจและดังนั้นการศึกษาธุรกิจ และการพิจารณาจนบัดนี้ยังขาดความเที่ยงตรงเชิงประจักษ์ของข้อปัญหาแต่ละปัญหา   เราได้ออกแบบหลักสูตรผู้เรียนในหลักการของความคิดในการออกแบบที่ได้รับการประยุกต์โดยผ่านการเรียนรู้การกระทำและการปฏิบัติที่มีผลสะท้อน และนัยสำคัญของหลักการเหล่านั้นได้มีการสำรวจในเชิงคุณภาพ
           ในเอกสารนี้ เราได้กำหนดนิยามความคิดในการออกแบบ, การปฏิบัติที่่ส่งผลสะท้อนและการเรียนรู้การปฏิบัติ   ต่อไปเราได้แบ่งแยกความแตกต่างชัดเจนระหว่างความคิดออกแบบด้วยความคิดทางธุรกิจ  เป็นการอธิบายที่เด่นชัดในทางปกิบัติ และทำอย่างไรองค์ประกอบของมันสามารถนำมาถ่ายทอดโดยผ่านหลักสูตรการเรียนรู้โดยลงมือทำด้วยประสบการณ์นักศึกษาภายในหลักสูตร  ในที่สุด เราได้สรุปการค้นพบเชิงคุณภาพของเราและการเปรียบเทียบข้อสรุปเหล่านั้นต่อมาร์ตินและความคาดหวังของคนอื่น ๆ ที่นักศึกษาทางธุรกิจการเปิดเผยความคิดในการออกแบบ

ความคิดในการออกแบบในการศึกษา(Design thinking in education)
           การกล่าวถึงนักศึกษาธุรกิจต่อวิธีการคิดออกแบบ  เราได้สนองนักศึกษาด้วยออกแบบหุ้นส่วนนักศึกษาในทิศทางแนวโน้มการเรียนรู้ในเชิงปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับปัญหาธุรกิจที่แท้จริง  โดยผ่านปัจจัยนำเสนอหลักสูตรนี้ (ตัวแบบจิตใจและทัศนคติของความคิดออกแบบ, ความร่วมมือกับนักศึกษาออกแบบ, และความเห็นอกเห็นใจกับเพื่อนร่วมงานและลูกค้า ในบริการของการแก้ค้นหาแนวทางแก้ปัญหาเพื่อลูกค้าธุรกิจ)    และมีการจัดจ้างนักศึกษาอย่างเต็มเปี่ยมโดยผ่านการปฏิบัติงานแบบสะท้อนผล  เราได้ต่อรองว่านักศึกษาธุรกิจควรจะแสดงออก และมีอิทธิพลจากองค์ประกอบที่เป็นแก่นความคิดในการออกแบบ
          ในการเริ่มวิถีทางทดสอบของนักศึกษาธุรกิจที่มีการกล้าแสดงออกในการออกแบบความคิดและ
สำรวจวิถีทางของการวัดผลตัวแปรเท่าที่ทำได้โดยขึ้นอยู่กับการแสดงออก  เราได้มีการปรับปรุงหลักสูตรการเรียนรู้โดยลงมือทำในเชิงสหวิทยาการ  เราได้พยายามโดยผ่านการสังเกตการณ์และวิเคราะห์ตัวหนังสือจากรายงานของนักศึกษาและปรากฎขึ้นในนักศึกษาธุรกิจที่สัมพันธ์กับประสบการณ์ในระหว่างการเรียนหลักสูตร  ถึงแม้ว่าปรากฎการณ์เชิงสหสัมพันธ์สามารถเพียงให้คำแนะนำอันเนื่องจากตัวอย่างเพียงเล็กน้อยและขาดการควบคุม  เราได้แสดงผลจากสังเกตุการณ์ในที่นี่เท่าที่ตัวชี้วัดเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรและสิ่งสำคัญแนวปฏิบัติอย่างไม่เป็นทางการเพื่อใช้สำหรับการศึกษาในอนาคต
          การเรียนรู้โดยลงมือทำเป็นพาหะสำหรับการศึกษาความคิดในการออกแบบ   การเรียนรู้โดยลงมือทำ (ก) คือนิยามที่กระบวนการเฉพาะที่ใช้ในการศึกษาที่มีรากฐานในที่ทำงาน   รูปแบบและการตีความหมายได้เติบโตจากผลงานของรีแวนส์ (1980-1983)    ตามความคิดของรีแวนส์ (1982) การเรียนรู้โดยลงมือทำมุ่งเน้นตัวบุคลแต่ใช้กลุ่มเล็กที่เรียกว่ "ชุดการเรียนรู้" ต่อการตอบสนองต่อนานาทัศนะที่สมาชิกได้อภิปราย, สะท้อนความคิด และท้าทายความคิดซึ่งกันและกัน  วัตถุประสงค์สำคัญของการเรียนรู้โดยลงมือทำคือการค้นพบถึงวิธีการถามที่สับสนคลุมเคลือในเงื่อนไขของความเสี่ยง  โดยที่แท้จริงแล้ว  มาร์ควอร์ท (2004) ให้ข้อสังเกตุว่า "การเรียนรู้โดยลงมือทำก่อกำเนิดได้อยางรวดเร็วในฐานะที่เป็นเครื่องมือพื้นฐานโดยใช้องค์การ เช่น โซเด็กโซ, โนวาร์ติส, และโนเกียเพื่อแก้ปัญหาวิกฤติและปัญหาที่ซับซ้อน ในขณะที่มีการยินยอมควบคู่กันในฐานะเป็นระเบียบวิธีที่เป็นสำคัญเพื่อการปรับปรุงผู้นำ, การสร้างทีมงาน และการขยายความสามารถทางธุรกิจ"  ดังเช่น ผู้สำรวจการวิจัยนี้สันนิษฐานการเรียนรู้โดยลงมือทำควรจะเป็นพาหะที่มีประสิทธิผลเพื่อการนำเสนอนักศึกษาธุรกิจต่อความคิดในการออกแบบ
          การลงมือปฏิบัติแบบผลสะท้อนเป็นพาหะเพื่อการศึกษาความคิดในการออกแบบ  สร้างสรรค์โดยชอน (1983,1987) เป็นตัวแบบปฏิบัติที่สะท้อนผลของการรู้ในทางปกิบัติ   บาดวซ, แก๊กนอน, ลาคูเซียร์ และลาพลิส (2001) อธิบายเมื่อเป็นสิ่งไม่ปรกติ, เป็นปัญหาของโลกที่แท้จริงที่ไม่เหมาะสมกับตัวบุคคลในองค์ความรู้ปัจจุบัน, ทักษะ,และทัศนคติที่แนวทางแก้ปัญหาที่ต้องการ  "การสะท้อนในทางปฏิบัติ" นำไปสู่การแสวงหาเพื่อข้อมูลข่าวสารเพิ่มเติม   เมื่อข้อมูลข่าวสารเพิ่มเติมคือการประยุกต์กับสถานการณ์โลกที่่แท้จริง"    จากผลในการรวมข้อมูลข่าวสารใหม่ขึ้นอยู่กับ "ผลสะท้อนการกระทำ" กระบวนการนี้เป็นผลให้ได้มา (acquistion), การบูรนาการ (integration) และใช้ความรู้,ทักษะ,และทัศนคติแบบใหม่ที่เพิ่มพูนระดับความชำนาญการของแต่ละบุคคลได้  กระบวนการคิดเชิงสะท้อนดำเนินการในแฟชั่นตามวัฎจักร

           นักวิชาการท่านอื่นได้เสนอเพื่อปรับปรุงคำจำกัดความที่สำคัญ (ไซเบอร์ต และดอเดลิน,1999 และลอจตัน และออตเตวิลล์,1988)  แต่บทบาทที่จำเป็นของการปฏิบัติแบบแสดงผลสะท้อนในการอัตถาธิบายขยายความในสิ่งที่ได้เรียนรู้และส่งเสริมการตรวจสอบของผู้สำรวจที่ประจักษ์ในสิ่งเรียนรู้ของบทบาทสำคัญที่เชื่อแน่ว่าเป็นการเล่นในหลักสูตรที่ประกอบด้วยประสบการณ์แนวใหม่อย่างมากมาย (และดังนั้น โอกาสที่จะเรียนรู้)เพื่อนักศึกษา   ข้อมูลเชิงคุณภาพที่เก็บตกจากวารสารการปฏิบัติงานที่มีผลสะท้อนกลับของนักศึกษาที่รับใช้ในฐานะเป็นแหล่งสำคัญของข้อมูลข่าวสารอย่างมีนัยสำคัญเกี่ยวกับทัศนคติ,รับรู้ และการเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลที่อาจมีเกิดขึ้นในการศึกษาในภาคการศึกษา





ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ระบบการเมืองที่ดีเหมือนปลาในอ่างแก้วที่มองเห็นตัวปลาชัดเจน

ตัวแบบจำลองภารกิจของแอสริช (Ashridge Mission Model)

การปฏิรูปการศึกษาในต่างประเทศ