สถาบันทางการเมืองแบบประชาธิปไตยในตะวันตก
สถาบันการเมืองคือระบบทางการเมืองและรัฐบาล เมื่อมาเปรียบเทียบกับระบบกฎหมาย,ระบบเศรษฐกิจ,ระบบวัฒนธรรม และระบบสังคมอื่น ๆ แต่ละระบบแตกต่างจากกัน และสามารถให้คำจำกัดความทั่วไปที่นิยามจากแนวคิดฝ่ายซ้าย ได้แก่ระบบคอมมูนิสต์ และระบบสังคมนิยม ทางด้านแนวคิดฝ่ายขวามือจะได้แก่ลัทธิฟาสซิสต์ ทัศนะของลินซ์เป็นคำพรรณณาเกี่ยวกับระบบเผด็จการแบบเบ็ดเสร็จ และยุคสมัยเผด็จการซึ่งนำไปสู่ข้อโต้แย้งอย่างมากและสำคัญยิ่งในการอธิบายทั้งระบบประธานาธิบดีและระบบรัฐสภา นักเขียนที่สำคัญอีกคนหนึ่งที่อ้างถึงสถาบันทางการเมืองคือซีมัวร์ มาร์ติน ลิปเซ็ต ทัศนะของเขาเน้นเกี่ยวกับปัจจัยวัฒนธรรมของวัฒนธรรมทางการเมืองมากกว่าปัจจัยระบบการเมือง บุคคลสุดท้ายที่ให้ทัศนะอย่างสำคัญว่าหมายถึงการเมือง และสถาบันการเมืองคือโดนัลด์ โฮโรวิทซ์ เขาได้อธิบายว่าลินซ์ระบุสิ่งที่ไม่ยั่งยืนเพราะว่าการเมืองนั้นฝังแน่นตามความคิดแบบภูมิภาคและตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษามีการคัดเลือกอย่างสำคัญ
ตามที่ศาสตราจารย์ทั้งสามท่านได้แก่ ซีมัวร์ มาร์ติน ลิปเซท, ฮวน ลินซ์, โดนัลด์ โฮโรวิชส์ พวกเขาให้ข้อเสนอแนะว่าทัศนะทางการเมืองที่สำคัญขึ้นอยู่ความคิดระบบประธานาธิบดี และระบบรัฐสภา ความยั่งยืนของระบบประธานาธิบดีก็คือการเป็นผู้ดำรงตำแหน่งทั้งสองฝายในระบบพรรคการเมืองที่หลากหลายเพื่อสร้างรัฐบาลผสมได้แก่พรรคการเมืองที่มีความนิยมสุดโต่ง การถ่วงดุลย์ระหว่างฝ่ายต่าง ๆและการกำหนดคำที่ใช้เป็นทางการมาจากความเสี่ยงต่อการระบุให้ชัดเจน ความมั่นคงของระบบรัฐสภาให้คำอธิบายว่ามีการทำหน้าที่ทางประวัติศาสตร์ที่สูงกว่าระบบประธานาธิบดี สิ่งนี้ในสังคมที่มีพรรคการเมืองหลากหลายที่มีความแตกแยก ความต่อเนื่องของพรรคการเมืองนี้คืออำนาจแฝงและในช่วงระหว่างมีรัฐบาลผสม บทความนี้ชี้ให้เห็นถึงการปรับตัวระหว่างสองระบบและวิธีการที่ทั้งสองระบบมีความแตกต่างซึ่งกันและกัน ระบบประธานาธิบดีคือคำศัพท์ที่เป็นทางการที่ไม่อนุญาตให้มีการปรับตัวทางการเมืองตามเหตุการณ์หลายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ในระบบนี้ไม่มีหลักการประชาธิปไตยที่เกิดขึ้นเพื่อแก้ปัญหาระหว่างฝ่ายบริหารกับฝ่ายนิติบัญญัติ มีการร้องเรียนน้อยในการสร้างความยินยอมพร้อมใจ เพราะว่าการประนีประนอมจะเป็นในทางลบกับผู้อื่น ในระบบรัฐสภาความสามารถในการปรับตัวตามระบบคือสิ่งที่เป็นวิกฤติของคณะรัฐมนตรีสามารถแก้ปัญหาได้ง่ายดาย เกณฑ์สุดท้ายเกี่ยวกับความแตกต่างระหว่างทั้งสองระบบนี้คือการตรวจสอบและถ่วงดุลย์ระหว่างทั้งสองระบบ ระบบประธานาธิบดีจะต้องทำให้การเมืองทั้งหมดไปสู่ชัยชนะสำหรับเกมส์ของผู้มีส่วนได้และผู้มีส่วนเสียซึ่งเป็นพันธกิจที่ยึดมั่นในการระบุผู้สูญเสียประโยชน์ และผู้ได้รับผลประโยชน์สำหรับช่วงเวลาทั้งหมดที่ดำรงตำแหน่ง ไม่มีอำนาจใดที่อยู่เป็นกลางซึ่งเกี่ยวข้องและประธานาธิบดีหลึกเลี่ยงการผสมพรรคร่วมกับฝ่ายค้านสามารถดึงดูดที่มีผลโดยตรงต่อประชาชน และอาจคิดว่าตัวแทนในสังคมทั้งหมด แม้ว่าเขาได้รับการเลือกตั้งจากเสียงประชาชนส่วนน้อย ซึ่งขึ้นอยู่กับคุณลักษณะส่วนบุคคล ในทำนองตรงกันข้าม การตรวจสอบและถ่วงดุลย์ของระบบรัฐสภาคือสิ่งที่นายกรัฐมนตรีเป็นองคาพยพที่ใหญ่กว่ามีเท้าทั้งสองข้างที่เสมอกันกับรัฐมนตรีกระทรวงต่าง ๆ ไม่เหมือนประธานาธิบดี ในระบบนี้ผู้นำฝ่ายค้านมีบ่ทบาท และพวกเขามีทัศนะภายในคณะรัฐบาลอันเนื่องจากรัฐมนตรีไม่สามารถทำงานในตำแหน่งนี้ได้ ซีมัวร์ มาร์ติน ลิปเซท ได้นำเอาข้อโต้แย้งที่เข้มแข็งที่สุดซึ่งเกี่ยวกับการอธิบายแนวคิดระบบประธานาธิบดี และรัฐสภากล่าวคือเขามีการเน้นย้ำเกี่ยวกับปัจจัยวัฒนธรรมของวัฒนธรรมทางการเมืองมากกว่าระบบการเมือง และได้อ้างถึงประชาธิปไตยระยะยาวจะพบได้ในชาติที่มีนิกายโปรแตสแตนท์และคาธอลิคซึี่งไม่มีผู้สนับสนุนเกี่ยวกับประชาธิปไตย พวกเขาเป็นนักอำนาจนิยมในสาระเกี่ยวกับจิตนิยม เขาอธิบายว่าความเปลี่ยนแปลงใหม่ที่เป็นชาติอิสลามได้ก่อให้เกิดอำนาจนิยมกับอภิชนาธิปไตยหรือระบบประธานาธิบดี สิ่งนี้คือเหตุผลที่ความเชื่ออิสลามทำให้ประชาธิปไตยในรูปแบบตะวันตกเป็นการยากที่จะประยุกต์เพราะว่าเป็นความจริงทางการเมืองและศาสนาไม่ได้ถูกแบ่งแยก เขาให้ทัศนะว่าชาติหลังสงครามเกือบทุกประเทศมีประชาธิปไตคยเป็นอดีตอาณานิคมของอังกฤษและปัจจัยวัฒนธรรมเมื่อเปรียบเทียบกับสถาบันทางการเมืองซึ่งยากกว่าการครอบงำ ในบทความของลิปเซท ทัศนะของเขามีผลมาจากปัญหาของลินซ์ ซึ่งเป็นคำกล่าวว่ามีตัวอย่างหลายตัวอย่างของระบบประธานาธิบดี และเป็นระบบที่มั่นคง เขาให้ความคิดสำคัญของทัศนะการตรวจสอบถ่วงดุลย์ของลินซ์ ซึ่งคณะรัฐมนตรีพร้อมด้วยคนกลุ่มใหญ่ของรัฐสภาที่อยู่เบื้องหลังเขามีอำนาจหน้าที่มากกว่าประธานาธิบดีอเมริกันเสียอีก ในระบบประธานาธิบดี หลักการของพรรคการเมืองมีความอ่อนแอ และผลประโยขน์ท้องถิ่นมีการทำงานที่เป็นตัวแทนที่ดีกว่า เมื่อรัฐบาลผสมตั้งขึ้นมา คณะมนตรีรัฐสภาอาจจะอ่อนแอซึ่งทำให้ระบบอเมริกาดู้เหมือนมีความมั่นคงมาก เพราะว่าคานาดามีประสบการณ์ของพรรคการเมืองที่สามอย่างมากที่เป้นสาเหตุจากหลักการของพรรคการเมือง ทัศนะส่วนมากที่สำคัญที่ตอกย้ำโดยลินซ์ ที่ระบบประธานาธิบดีเป็นสิ่งที่ด้อยกว่าระบบรัฐสภา ผู้สนับสนุนเสนอแนะว่าหลักฐานเชิงประจักษ์สำหรับทัศนะของลินซ์คือว่าเป็นสิ่งแสดงถึงระบบประธานาธิบดีเพียงเล็กน้อยได้รับการสนับสนุนให้มีประชาธิปไตยที่มั่นคง จุดประสงค์ของบทความเพื่อสะท้อนถึงความมั่นคงทางการเมือง ในระบบรัฐสภาหัวหน้ารัฐบาลได้รับการเลือกสรรโดยฝ่ายนิติบัญญัติและสามารถพลาดจากเสียงโหวตของนิติบัญญัติอย่างไม่มีความเชื่อมั่น ไม่มีปัจจัยใดที่ให้ความเสมอภาคในการแยกฝ่ายนิติบัญญํติกับฝ่ายบริหารในระบบประธานาธิบดี ในสิ่งที่หัวหน้ารัฐบาลก่อกำเนิดที่นอกเหนือจากกระบวนการเลือกตั้งแบบแบ่งฝ่าย ดังนั้นระบบรัฐสภาจึงเป็นระบบที่ยืดหยุ่น(flexible), ระบบประธานาธิบดีเป็นระบบที่เข้มงวด (rigid) ลินซืกับเพื่อนของเขาให้ทัศนะว่าสิ่งที่เข้มงวดอาจใช้ทหารเพื่อสมมติบทบาทเกี่ยวกับอำนาจที่วางตนเป็นกลาง (moderating power) นักรัฐศาสตร์ชื่อฮวนรินซ์ตอบสนอการศึกษาแบบคู่ขนานเกี่ยวกับธรรมขาติของยุคสมัยที่ไม่ใช่ประชาธิปไตย การวิเคราะห์จากการสัมมนาของลินซ์ได้ปรับปรุงความแตกต่างขั้นพื้นฐานระหว่างเผด็จการแบบเบ็ดเสร็จแบบอำนาจนิยม ยังแสดงให้เห้นถึงการอภิปรายที่จำแนกประเด็นย่อยในวิถีทางเกี่ยวกับสิ่งที่เป็นรูปแบบกฎเกณฑ์อำนาจนิยมเชิงบุคคลิก, การไร้กฎหมายหรือรูปแบบที่ไม่มีอุดมคติซึ่งเขาเรียกว่าเป็นยุคสมัยสุลต่าน ยุคสมัยสุลต่านสามารถนิยามขั้นพื้นฐานในแง่ของอำนาจแฝงของผู้ปกครองที่เป็นส่วนบุคคล แต่อำนาจของผู้ปกครองและผู้จงรักภักดีที่มีต่อตัวบุคคลได้รับไม่ได้มาจากอุดมคติหรือคุณลักษณะแบบบารมีแบบพิเศษ แต่มาจากส่วนผสมของการสร้างความหวาดกลัวและตอบแทนรางวัลแก่ผู้จงรักภักดี โดนัลด์ โฮโรวิทซ์ ที่ทัศนะของเขาได้มาเป็นคำกลาวที่ลินซ์ได้กล่าวถึงว่าไม่ยังยืน สิ่งนี้เพราะว่าเป็นไปตามที่เขากล่าว มันเป็นการผูกติดภูมิภาคและตัวอยางที่คัดเลือกมาอย่างสูง ซึ่งในเอเซียและอัฟริกา ระบบรัฐสภาไม่ได้มั่นคงอย่างแท้จริงเพราะว่าทัศนะที่ล้อเลียนเชิงกลไกเกี่ยวกับระบบประธานาธิบดี และข้อสมมติฐานเกี่ยวกับระบบทั่วไปคือการเลือกตั้งประธานาธิบดี การเพิกเฉยในการทำหน้าที่นี้กล่าวคือประธานาธิบดีสามารถปฏิบัติงานในสังคมที่มีการแบ่งแยกกันในตัวอย่างในประเทศไนจีเรีย ระบบประธานาธิบดีบรรเทาการแบ่งแยกของสังคม โดนัลด์ โฮโรวิทซ์อธิบายถึงการวิพากย์ของสิ่งที่ง่ายเกินไปของลินซ์ที่ว่าความสำเร็จทางการเมืองจะต้องกล่าวถึงกับครอบครัวส่วนมาก ซึ่งนำไปสู่ความล้มเหลวทางการเมือง ซึ่งก็คือระบบประธานาธิบดี สิ่งที่สามารถผสมการเมืองได้ในรูปแบบรัฐสา และฝายค้านและรัฐบาลอาจจะร่วมมือในกระบวนการนิติบัญญัติแต่ยังคงเป็นจริงสำหรับระบบประธานาธิบดีที่มีผลลัพธ์อย่างเท่าเทียมเท่าที่ทำได้ในระบบประธานาธิบดี ในระบบประธานาธิบดีหากมีพื้นที่ว่างทั้งสองระบบถูกควบคุมโดยพรรคการเมืองที่แตกต่างกัน ไม่สามารถทำให้ผู้ชนะสามารถเก็บเกี่ยวกับผลประโยชน์ทั้งหมดเพื่อเป็นการถ่วงดุลย์เกี่ยวกับอำนาจอย่างหนึ่ง เพื่อเอาชนะกับปัญหานี้เกี่ยวกับสังคมที่มีการแบ่งแยกกัน ประธานาธิบดีควรจะได้รับการเลือกตั้งจากระบบที่ทำให้มั่นใจว่ามีการสนับสนุนการจัดสรรผลประโยชน์สำหรับประธาธิบดี และสิ่งนี้เกิดขึ้นเพื่อแสดงทัศนะที่ว่าผู้ได้รับชัยชนะคือการทำหน้าที่ของระบบการเลือกตั้งแต่ไม่เกี่ยวกับตัวสถาบัน โดยสรุป ตามที่ซีมัวร์ มาร์ติน ลิปเซท จาข้อเขียน "จุดศูนย์กลางวัฒนธรรมการเมือง" ทัศนะของเขาอยู่จุดสูงสุดของเพื่อนร่วมงานคนอื่น ๆ ในการอธิบายความคิดของระบบประธานาธิบดี และระบบรัฐสภา เขาได้อภิปรายทั้งของฮวน ลินซ์ และโดนัลด์ โฮโรวิทซ์ที่มีการยกย่องอย่างสูงเพือกระตุ้นการอภิปรายเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างระบบรัฐธรรมนูญ ซึ่งประธานาธิบดี และรัฐสภาและเงื่อนไขที่ทำให้ประชาธิปไตยมีเสถียรภาพ ลินซ์ สนับสนุนความคิดของเขาเองอย่างกว้างขวางเกี่ยวกับลาตินอเมริกันที่ได้รับรู้ประสบการณ์ โดยตั้งข้อสังเกตว่าระบบประธานาธิบดีส่วนใหญ่มีความล้มเหลวซ้ำซาก โฮโรวิทซ์ นักศึกษาสาขาเอเชีย และอัฟริกาเน้นว่าระบบรัฐสภาส่วนมากถูกท้าทายในประเทศอัฟริกาส่วนมาก และบางประเทศใหม่ ๆ หลังสงครามอาเชียน มีความล้มเหลวด้วย ถึงแม้ว่าประชาธิปไตยเป็นสิ่งที่พิจารณาโดยทั่วไปว่าเป็นการเติบโตรุ่งเรืองในอเมริกา ในความเป็นจริงเป็นเพียงทรงตัวและมีเสถียรภาพน้อยกว่าอย่างที่เข้าใจกันมา ในยุคสมัยประชาธิปไตยส่วนมากในอเมริกาตอนกลางและตอนใต้ยังไม่ได้บรรลุความสำเร็จอยางลึกซึ้งและมีความชอบธรรมอย่างกว้างขวางในฐานะที่เป็นระดับของการร่วมกันและทำอย่างดีที่สุด และข้อตกลงในทางพฤติกรรมเกี่ยวกับกฎหมาย และข้อจำกัดประชาธิปไตยที่มีแสดงออกถึงการร่วมกันเพื่อความเป็นอิสระ
สรุป ประชาธิปไตยในประเทศแถบยุโรป หรืออเมริกาพบว่ายังไม่สามารถเป็นประชาธิปไตยอย่างสมบูรณ์ และยังมีปัญหาที่มีช่องว่างเหมือนกัน เพียงแต่ระบบถ่วงดุลย์อำนาจดี และสร้างเสถียรภาพของระบบผู้นำได้ดีกว่าในประเทศแถบเอเชีย หรือตะวันออกกลางที่มีการเรียกร้องประชาธิปไตย ทั้งนี้เป็นผลมาจากประเทศพัฒนาแล้วเข้ามาแทรกแซงและมีบทบาทในทั่วโลก ทำให้ต้นทุนในการปกครองมีค่อนข้างสูง และประเทศอเมริกากลายเป็นรัฐตำรวจโลก ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่าประชาธิปไตยเปรียบเสมือนต้นไม้ที่ต้องหาพันธ์ที่ดี และต้องดูแลให้เจริญงอกงาม และไม่ให้ใครโค่นต้นไม้ประชาธิปไตย เพราะอย่างไรก็ตามประชาธิปไตยก็ยังเป็นการปกครองที่เลวน้อยที่สุด เมื่อเทียบกับระบบการปกครองในรูปแบบอื่น ๆ เพียงแต่ระบบประชาธิปไตยนั้นควรมีเอกภาพในทิศทางที่มุ่งผลประโยชน์ของประชาชนส่วนใหญ่เป็นสำคัญ แต่มิใช่หลักประกันว่าประชาธิปไตยจะดีอย่างสมบูรณ์แบบ เพียงแต่ต้องมีระบบตรวจสอบถ่วงดุลย์ให้เกิดความสมดุลย์ให้มากที่สุด และที่สำคัญต้องสร้างจิตวิญญานประชาธิปไตยหยั่งรากลึกในสังคมไทย
เรียบเรียงจากวารสาร "Political Institution" ฉบับวันที่ 7 พฤษภาคม 2555
ตามที่ศาสตราจารย์ทั้งสามท่านได้แก่ ซีมัวร์ มาร์ติน ลิปเซท, ฮวน ลินซ์, โดนัลด์ โฮโรวิชส์ พวกเขาให้ข้อเสนอแนะว่าทัศนะทางการเมืองที่สำคัญขึ้นอยู่ความคิดระบบประธานาธิบดี และระบบรัฐสภา ความยั่งยืนของระบบประธานาธิบดีก็คือการเป็นผู้ดำรงตำแหน่งทั้งสองฝายในระบบพรรคการเมืองที่หลากหลายเพื่อสร้างรัฐบาลผสมได้แก่พรรคการเมืองที่มีความนิยมสุดโต่ง การถ่วงดุลย์ระหว่างฝ่ายต่าง ๆและการกำหนดคำที่ใช้เป็นทางการมาจากความเสี่ยงต่อการระบุให้ชัดเจน ความมั่นคงของระบบรัฐสภาให้คำอธิบายว่ามีการทำหน้าที่ทางประวัติศาสตร์ที่สูงกว่าระบบประธานาธิบดี สิ่งนี้ในสังคมที่มีพรรคการเมืองหลากหลายที่มีความแตกแยก ความต่อเนื่องของพรรคการเมืองนี้คืออำนาจแฝงและในช่วงระหว่างมีรัฐบาลผสม บทความนี้ชี้ให้เห็นถึงการปรับตัวระหว่างสองระบบและวิธีการที่ทั้งสองระบบมีความแตกต่างซึ่งกันและกัน ระบบประธานาธิบดีคือคำศัพท์ที่เป็นทางการที่ไม่อนุญาตให้มีการปรับตัวทางการเมืองตามเหตุการณ์หลายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ในระบบนี้ไม่มีหลักการประชาธิปไตยที่เกิดขึ้นเพื่อแก้ปัญหาระหว่างฝ่ายบริหารกับฝ่ายนิติบัญญัติ มีการร้องเรียนน้อยในการสร้างความยินยอมพร้อมใจ เพราะว่าการประนีประนอมจะเป็นในทางลบกับผู้อื่น ในระบบรัฐสภาความสามารถในการปรับตัวตามระบบคือสิ่งที่เป็นวิกฤติของคณะรัฐมนตรีสามารถแก้ปัญหาได้ง่ายดาย เกณฑ์สุดท้ายเกี่ยวกับความแตกต่างระหว่างทั้งสองระบบนี้คือการตรวจสอบและถ่วงดุลย์ระหว่างทั้งสองระบบ ระบบประธานาธิบดีจะต้องทำให้การเมืองทั้งหมดไปสู่ชัยชนะสำหรับเกมส์ของผู้มีส่วนได้และผู้มีส่วนเสียซึ่งเป็นพันธกิจที่ยึดมั่นในการระบุผู้สูญเสียประโยชน์ และผู้ได้รับผลประโยชน์สำหรับช่วงเวลาทั้งหมดที่ดำรงตำแหน่ง ไม่มีอำนาจใดที่อยู่เป็นกลางซึ่งเกี่ยวข้องและประธานาธิบดีหลึกเลี่ยงการผสมพรรคร่วมกับฝ่ายค้านสามารถดึงดูดที่มีผลโดยตรงต่อประชาชน และอาจคิดว่าตัวแทนในสังคมทั้งหมด แม้ว่าเขาได้รับการเลือกตั้งจากเสียงประชาชนส่วนน้อย ซึ่งขึ้นอยู่กับคุณลักษณะส่วนบุคคล ในทำนองตรงกันข้าม การตรวจสอบและถ่วงดุลย์ของระบบรัฐสภาคือสิ่งที่นายกรัฐมนตรีเป็นองคาพยพที่ใหญ่กว่ามีเท้าทั้งสองข้างที่เสมอกันกับรัฐมนตรีกระทรวงต่าง ๆ ไม่เหมือนประธานาธิบดี ในระบบนี้ผู้นำฝ่ายค้านมีบ่ทบาท และพวกเขามีทัศนะภายในคณะรัฐบาลอันเนื่องจากรัฐมนตรีไม่สามารถทำงานในตำแหน่งนี้ได้ ซีมัวร์ มาร์ติน ลิปเซท ได้นำเอาข้อโต้แย้งที่เข้มแข็งที่สุดซึ่งเกี่ยวกับการอธิบายแนวคิดระบบประธานาธิบดี และรัฐสภากล่าวคือเขามีการเน้นย้ำเกี่ยวกับปัจจัยวัฒนธรรมของวัฒนธรรมทางการเมืองมากกว่าระบบการเมือง และได้อ้างถึงประชาธิปไตยระยะยาวจะพบได้ในชาติที่มีนิกายโปรแตสแตนท์และคาธอลิคซึี่งไม่มีผู้สนับสนุนเกี่ยวกับประชาธิปไตย พวกเขาเป็นนักอำนาจนิยมในสาระเกี่ยวกับจิตนิยม เขาอธิบายว่าความเปลี่ยนแปลงใหม่ที่เป็นชาติอิสลามได้ก่อให้เกิดอำนาจนิยมกับอภิชนาธิปไตยหรือระบบประธานาธิบดี สิ่งนี้คือเหตุผลที่ความเชื่ออิสลามทำให้ประชาธิปไตยในรูปแบบตะวันตกเป็นการยากที่จะประยุกต์เพราะว่าเป็นความจริงทางการเมืองและศาสนาไม่ได้ถูกแบ่งแยก เขาให้ทัศนะว่าชาติหลังสงครามเกือบทุกประเทศมีประชาธิปไตคยเป็นอดีตอาณานิคมของอังกฤษและปัจจัยวัฒนธรรมเมื่อเปรียบเทียบกับสถาบันทางการเมืองซึ่งยากกว่าการครอบงำ ในบทความของลิปเซท ทัศนะของเขามีผลมาจากปัญหาของลินซ์ ซึ่งเป็นคำกล่าวว่ามีตัวอย่างหลายตัวอย่างของระบบประธานาธิบดี และเป็นระบบที่มั่นคง เขาให้ความคิดสำคัญของทัศนะการตรวจสอบถ่วงดุลย์ของลินซ์ ซึ่งคณะรัฐมนตรีพร้อมด้วยคนกลุ่มใหญ่ของรัฐสภาที่อยู่เบื้องหลังเขามีอำนาจหน้าที่มากกว่าประธานาธิบดีอเมริกันเสียอีก ในระบบประธานาธิบดี หลักการของพรรคการเมืองมีความอ่อนแอ และผลประโยขน์ท้องถิ่นมีการทำงานที่เป็นตัวแทนที่ดีกว่า เมื่อรัฐบาลผสมตั้งขึ้นมา คณะมนตรีรัฐสภาอาจจะอ่อนแอซึ่งทำให้ระบบอเมริกาดู้เหมือนมีความมั่นคงมาก เพราะว่าคานาดามีประสบการณ์ของพรรคการเมืองที่สามอย่างมากที่เป้นสาเหตุจากหลักการของพรรคการเมือง ทัศนะส่วนมากที่สำคัญที่ตอกย้ำโดยลินซ์ ที่ระบบประธานาธิบดีเป็นสิ่งที่ด้อยกว่าระบบรัฐสภา ผู้สนับสนุนเสนอแนะว่าหลักฐานเชิงประจักษ์สำหรับทัศนะของลินซ์คือว่าเป็นสิ่งแสดงถึงระบบประธานาธิบดีเพียงเล็กน้อยได้รับการสนับสนุนให้มีประชาธิปไตยที่มั่นคง จุดประสงค์ของบทความเพื่อสะท้อนถึงความมั่นคงทางการเมือง ในระบบรัฐสภาหัวหน้ารัฐบาลได้รับการเลือกสรรโดยฝ่ายนิติบัญญัติและสามารถพลาดจากเสียงโหวตของนิติบัญญัติอย่างไม่มีความเชื่อมั่น ไม่มีปัจจัยใดที่ให้ความเสมอภาคในการแยกฝ่ายนิติบัญญํติกับฝ่ายบริหารในระบบประธานาธิบดี ในสิ่งที่หัวหน้ารัฐบาลก่อกำเนิดที่นอกเหนือจากกระบวนการเลือกตั้งแบบแบ่งฝ่าย ดังนั้นระบบรัฐสภาจึงเป็นระบบที่ยืดหยุ่น(flexible), ระบบประธานาธิบดีเป็นระบบที่เข้มงวด (rigid) ลินซืกับเพื่อนของเขาให้ทัศนะว่าสิ่งที่เข้มงวดอาจใช้ทหารเพื่อสมมติบทบาทเกี่ยวกับอำนาจที่วางตนเป็นกลาง (moderating power) นักรัฐศาสตร์ชื่อฮวนรินซ์ตอบสนอการศึกษาแบบคู่ขนานเกี่ยวกับธรรมขาติของยุคสมัยที่ไม่ใช่ประชาธิปไตย การวิเคราะห์จากการสัมมนาของลินซ์ได้ปรับปรุงความแตกต่างขั้นพื้นฐานระหว่างเผด็จการแบบเบ็ดเสร็จแบบอำนาจนิยม ยังแสดงให้เห้นถึงการอภิปรายที่จำแนกประเด็นย่อยในวิถีทางเกี่ยวกับสิ่งที่เป็นรูปแบบกฎเกณฑ์อำนาจนิยมเชิงบุคคลิก, การไร้กฎหมายหรือรูปแบบที่ไม่มีอุดมคติซึ่งเขาเรียกว่าเป็นยุคสมัยสุลต่าน ยุคสมัยสุลต่านสามารถนิยามขั้นพื้นฐานในแง่ของอำนาจแฝงของผู้ปกครองที่เป็นส่วนบุคคล แต่อำนาจของผู้ปกครองและผู้จงรักภักดีที่มีต่อตัวบุคคลได้รับไม่ได้มาจากอุดมคติหรือคุณลักษณะแบบบารมีแบบพิเศษ แต่มาจากส่วนผสมของการสร้างความหวาดกลัวและตอบแทนรางวัลแก่ผู้จงรักภักดี โดนัลด์ โฮโรวิทซ์ ที่ทัศนะของเขาได้มาเป็นคำกลาวที่ลินซ์ได้กล่าวถึงว่าไม่ยังยืน สิ่งนี้เพราะว่าเป็นไปตามที่เขากล่าว มันเป็นการผูกติดภูมิภาคและตัวอยางที่คัดเลือกมาอย่างสูง ซึ่งในเอเซียและอัฟริกา ระบบรัฐสภาไม่ได้มั่นคงอย่างแท้จริงเพราะว่าทัศนะที่ล้อเลียนเชิงกลไกเกี่ยวกับระบบประธานาธิบดี และข้อสมมติฐานเกี่ยวกับระบบทั่วไปคือการเลือกตั้งประธานาธิบดี การเพิกเฉยในการทำหน้าที่นี้กล่าวคือประธานาธิบดีสามารถปฏิบัติงานในสังคมที่มีการแบ่งแยกกันในตัวอย่างในประเทศไนจีเรีย ระบบประธานาธิบดีบรรเทาการแบ่งแยกของสังคม โดนัลด์ โฮโรวิทซ์อธิบายถึงการวิพากย์ของสิ่งที่ง่ายเกินไปของลินซ์ที่ว่าความสำเร็จทางการเมืองจะต้องกล่าวถึงกับครอบครัวส่วนมาก ซึ่งนำไปสู่ความล้มเหลวทางการเมือง ซึ่งก็คือระบบประธานาธิบดี สิ่งที่สามารถผสมการเมืองได้ในรูปแบบรัฐสา และฝายค้านและรัฐบาลอาจจะร่วมมือในกระบวนการนิติบัญญัติแต่ยังคงเป็นจริงสำหรับระบบประธานาธิบดีที่มีผลลัพธ์อย่างเท่าเทียมเท่าที่ทำได้ในระบบประธานาธิบดี ในระบบประธานาธิบดีหากมีพื้นที่ว่างทั้งสองระบบถูกควบคุมโดยพรรคการเมืองที่แตกต่างกัน ไม่สามารถทำให้ผู้ชนะสามารถเก็บเกี่ยวกับผลประโยชน์ทั้งหมดเพื่อเป็นการถ่วงดุลย์เกี่ยวกับอำนาจอย่างหนึ่ง เพื่อเอาชนะกับปัญหานี้เกี่ยวกับสังคมที่มีการแบ่งแยกกัน ประธานาธิบดีควรจะได้รับการเลือกตั้งจากระบบที่ทำให้มั่นใจว่ามีการสนับสนุนการจัดสรรผลประโยชน์สำหรับประธาธิบดี และสิ่งนี้เกิดขึ้นเพื่อแสดงทัศนะที่ว่าผู้ได้รับชัยชนะคือการทำหน้าที่ของระบบการเลือกตั้งแต่ไม่เกี่ยวกับตัวสถาบัน โดยสรุป ตามที่ซีมัวร์ มาร์ติน ลิปเซท จาข้อเขียน "จุดศูนย์กลางวัฒนธรรมการเมือง" ทัศนะของเขาอยู่จุดสูงสุดของเพื่อนร่วมงานคนอื่น ๆ ในการอธิบายความคิดของระบบประธานาธิบดี และระบบรัฐสภา เขาได้อภิปรายทั้งของฮวน ลินซ์ และโดนัลด์ โฮโรวิทซ์ที่มีการยกย่องอย่างสูงเพือกระตุ้นการอภิปรายเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างระบบรัฐธรรมนูญ ซึ่งประธานาธิบดี และรัฐสภาและเงื่อนไขที่ทำให้ประชาธิปไตยมีเสถียรภาพ ลินซ์ สนับสนุนความคิดของเขาเองอย่างกว้างขวางเกี่ยวกับลาตินอเมริกันที่ได้รับรู้ประสบการณ์ โดยตั้งข้อสังเกตว่าระบบประธานาธิบดีส่วนใหญ่มีความล้มเหลวซ้ำซาก โฮโรวิทซ์ นักศึกษาสาขาเอเชีย และอัฟริกาเน้นว่าระบบรัฐสภาส่วนมากถูกท้าทายในประเทศอัฟริกาส่วนมาก และบางประเทศใหม่ ๆ หลังสงครามอาเชียน มีความล้มเหลวด้วย ถึงแม้ว่าประชาธิปไตยเป็นสิ่งที่พิจารณาโดยทั่วไปว่าเป็นการเติบโตรุ่งเรืองในอเมริกา ในความเป็นจริงเป็นเพียงทรงตัวและมีเสถียรภาพน้อยกว่าอย่างที่เข้าใจกันมา ในยุคสมัยประชาธิปไตยส่วนมากในอเมริกาตอนกลางและตอนใต้ยังไม่ได้บรรลุความสำเร็จอยางลึกซึ้งและมีความชอบธรรมอย่างกว้างขวางในฐานะที่เป็นระดับของการร่วมกันและทำอย่างดีที่สุด และข้อตกลงในทางพฤติกรรมเกี่ยวกับกฎหมาย และข้อจำกัดประชาธิปไตยที่มีแสดงออกถึงการร่วมกันเพื่อความเป็นอิสระ
สรุป ประชาธิปไตยในประเทศแถบยุโรป หรืออเมริกาพบว่ายังไม่สามารถเป็นประชาธิปไตยอย่างสมบูรณ์ และยังมีปัญหาที่มีช่องว่างเหมือนกัน เพียงแต่ระบบถ่วงดุลย์อำนาจดี และสร้างเสถียรภาพของระบบผู้นำได้ดีกว่าในประเทศแถบเอเชีย หรือตะวันออกกลางที่มีการเรียกร้องประชาธิปไตย ทั้งนี้เป็นผลมาจากประเทศพัฒนาแล้วเข้ามาแทรกแซงและมีบทบาทในทั่วโลก ทำให้ต้นทุนในการปกครองมีค่อนข้างสูง และประเทศอเมริกากลายเป็นรัฐตำรวจโลก ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่าประชาธิปไตยเปรียบเสมือนต้นไม้ที่ต้องหาพันธ์ที่ดี และต้องดูแลให้เจริญงอกงาม และไม่ให้ใครโค่นต้นไม้ประชาธิปไตย เพราะอย่างไรก็ตามประชาธิปไตยก็ยังเป็นการปกครองที่เลวน้อยที่สุด เมื่อเทียบกับระบบการปกครองในรูปแบบอื่น ๆ เพียงแต่ระบบประชาธิปไตยนั้นควรมีเอกภาพในทิศทางที่มุ่งผลประโยชน์ของประชาชนส่วนใหญ่เป็นสำคัญ แต่มิใช่หลักประกันว่าประชาธิปไตยจะดีอย่างสมบูรณ์แบบ เพียงแต่ต้องมีระบบตรวจสอบถ่วงดุลย์ให้เกิดความสมดุลย์ให้มากที่สุด และที่สำคัญต้องสร้างจิตวิญญานประชาธิปไตยหยั่งรากลึกในสังคมไทย
เรียบเรียงจากวารสาร "Political Institution" ฉบับวันที่ 7 พฤษภาคม 2555
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น