แนวคิดเชิงธุรกิจกับความคิดออกแบบ ตอนที่ห้า
การอภิปรายผล (Discussion)
สถาบันการสอนธุรกิจถูกท้าทายในการเตรียมการเพื่อเป็นผู้นำและผู้จัดการในอนาคตเพื่อเผยแพร่ประเด็นปัญหาที่ซับซ้อนที่มักขาดการแก้ปัญหาอย่างเฉพาะเจาะจงซึ่งต้องการความร่วมมือและมีความซาบซึ้งกับนัยยะทางสังคม ในความพยายามปรับปรุงบัณฑิตและผู้นำในอนาคตที่ดีขึ้น, นักการศึกษาทางธุรกิจมักแสวงโอกาสตอบสนองบัณฑิตในยุคที่มีการแข่งขันโดยผ่านประสบการณ์จากการศึกษา สิ่งนี้นำไปสู่การเห็นคุณค่าในการเติมเต็มความคิดในการออกแบบไปสู่หลักสูตรทางธุรกิจ แนวทางการศึกษาธุรกิจที่รวมเอาความคิดในการออกแบบที่อาจเติมเต็มหลักสูตรทางธุรกิจ แนวทางธุรกิจที่รวมเอาจากแนวคิดในการออกแบบอาจเติมเต็มเพื่อความได้เปรียบเชิงแข่งขันในเครืองมือธุรกิจที่กำหนดสถานะบัณฑิตต่อแนวคิดสร้างสรรค์และมีประสิทธิผลเป็นการเผยแพร่สิ่งซับซ้อน,สับสน และชื่นชอบในความต้องการขององค์การและสังคม
การศึกษาในเรื่องนี้เป็นการทดสอบผลกระทบของการมีส่วนร่วมในหลักสูตรข้ามภาควิชา,และข้ามศาสตร์เกี่ยวกับการบรรลุของผลที่ได้จากการเรียนรู้ของนักศึกษา ได้แก่ความสำเร็จในโลกที่แท้จริงของนักศึกษาซึ่งเป็นการแสดงออกจากความพึงพอใจของลูกค้า ยังมีการทดสอบประสบการณ์ของลูกค้าหากเป็นไปได้กับทัศนคติ,การรับรู้และมิติของความสัมพันธ์ภายในของมาร์ติน (2006) เกี่ยวกับความคิดในการออกแบบ การวิเคราะห์เชิงคุณภาพของผลวิจารณ์ของนักศึกษา, การรายงานความก้าวหน้าของทีม, การกำหนดกฎเกณฑ์ของคณะ และการทบทวนข้อมูลย้อนกลับจากทีมผู้บริหารของลูกค้าแสดงให้เห็นว่านักศึกษาบรรลุถึงผลสำเร็จจากการเรียนรู้ ได้แก่ความสำเร็จในโลกที่แท้จริง ในฐานะที่เป็นประจักษ์ชัดในการส่งเสริมสิ่งที่สามารถดำเนินการได้เกินความคาดหวังของลูกค้าในขอบเขตของความคิดริเริ่มสร้างสรรค์, ความยืดหยุ่น,และความสอดคล้อง นักศึกษายังดูเหมือนรับรู้ประสบการณ์และการเปลี่ยนแปลงทัศนคติที่ระบุชัดถึงความคิดในการออกแบบ โดยเฉพาะอย่างยิ่งความสำคัญในการให้เหตุผลที่เป็นนิรนัย, ความร่วมมือและความเห็นอกเห็นใจกัน โดยทั่วไปนักศึกษาได้รับความประทับกับการมีแนวทางที่มีการขยายประเด็นเกี่ยวกับธุรกิจเพิ่มขึ้น
โดยแนวคิดแบบดั้งเดิม นักศึกษาและการออกแบบนักศึกษามีทัศนะที่แตกต่างของบทบาทในเวทีตลาดโลก (Dunne and Martin,2006) บัณฑิตเอ็มบีเอมีความรู้สึกที่จะมีเครื่องมือต่อการจัดการทรัพยากรที่ดีท่ามกลางธุรกิจ การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน การได้เปรียบเชิงแข่งขันในลักษณะการผสมเอาธุรกิจกับการออกแบบเป็นการปรับเปลี่ยนนำไปสู่ธุรกิจและภาวะผู้นำ นักศึกษาธุรกิจจะต้องมีความคิดของตนเองก่อนที่ได้รับการท้าทายเมื่อพวกเขาเผชิญหน้ากับความคิดที่กว้างขวางที่เผยแพร่ส่วนแบ่งการตลาดที่จับต้องได้ในสังคมที่มีการวิพากย์โดยทั่วไป
ตลอดสองทศวรรษที่ผ่านมานี้ เทคนิคธุรกิจขึ้นอยู่กับการทำให้เกิดผลประโยชน์สุงสุด เช่นเทคนิคซิกส์ ซิกม่า, การจัดการคุณภาพโดยรวม และทฤษฎีข้อจำกัด (theory of constraints) ถูกแสวงหาในเป้าหมายที่เหมือนกันเพื่อปรับปรุงในระดับล่าง (Martin,2007b) ทั้งในการลดค่าใช้จ่ายหรือโดยผ่านการปรับปรุงปัจจัยนำเข้า เทคนิคการทำประโยชน์สูงสุดโดยไม่พิจารณาว่าผลิตภัณฑ์นั้นในความรู้สึกของลูกค้าเป็นอย่างไร หรือไม่มีการวิจัยและพัฒนาในส่วนของกระบวนการ มีการละเลยเพิกเฉยมานานคือความสามารถในการจัดการที่จะขับเคี่ยวความก้าวหน้าและส่งเสริมสิ่งแวดล้อมที่เติบโตไปสู่จุดสูงสุด, นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ และความสามารถที่จะเป็นหนึ่งในการตลาด (The Economist,2007) ในชั้นเรียนแบบสหวิทยาการแสดงออกให้เห็นแนวทางที่เป็นไปได้ในการเผยแพร่ข้อบกพร่องต่างๆ นี้ คณะต้องตอบสนองพื้นที่ทางปัญญาเพื่อให้เกิดความร่วมมือ ซึ่งเป็นไปตามพันธะสัญญาที่วาการแก้ปัญหานั้นถูกนำมาถ่ายทอดโดยทีมงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ลูกค้ามีความชัดเจนกับความปรารถนาของเขาในการเห็นแนวทางแก้ปัญหาเชิงนวัตกรรม เกณฑ์สามสิ่งเหล่านี้ได้มีการต่อสู้ขับเคี่ยวในสิ่งแวดล้อมของการเรียนรู้ในขณะที่ความคิดแต่ละความคิดมีเวลาในการอภิปรายของมันเอง ด้วยความเข้าใจของสถานที่ในเวลาส่งมอบตามโครงการ ชั้นเรียนทำได้ที่ดีที่สุดคือคิดแบบติดกรอบ (think-tank) อิสรภาพในการทดลองและความล้มเหลว เป็นการใช้การจัดการโครงการที่ดีที่สุด เพื่อให้เกิดความมั่นใจในการแก้ปัญหาที่ดีที่สุดซึ่งสามารถตระหนักว่าภายในข้อจำกัดที่มีอยู่ และการใช้การวิเคราะห์ที่ดีที่สุด ในสาระสำคัญของตำแหน่งโดยผ่านความเข้มงวด,ตามเกณฑ์วัตถุประสงค์
ในฐานะของการวิพากย์วิจารณ์เกี่ยวกับการศึกษาธุรกิจที่ต่อเนื่อง จึงเป็นสิ่งสำคัญในการนำเสนอแบบจำลองเชิงสหวิทยาการที่บูรนาการแนวคิดทฤษฎีต่าง ๆ และการประยุกต์ใช้ในทางปฏิบัติเพื่อให้เกิดความมั่นใจยว่าบัณฑิตทางสถาบันธุรกิจได้รับความรู้เช่นนวัตกรรม, ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และเป็นผู้นำที่ดีที่บูรนาการเอาทฤษฎีและการลงมือทำเพื่อสร้างความก้าวหน้าในอาชีพของธุรกิจและปรับปรุงสภาพสังคม รูปแบบสหวิทยาการเชิงนวัตกรรมนี้ช่วยให้การศึกษาธุรกิจดีขึ้นด้วยความคิดในการออกแบบเพื่อตอบสนองข้อกำหนดเพื่อการเตรียมนักศึกษาธุรกิจทำงานได้อย่างมีประสิทธิผลในการเผยแพร่สิ่งซับซ้อน, สิ่งที่ยังไม่ได้กำหนดนิยาม, สิ่งท้าทายทีมีผลกระทบเชิงกว้างในปัญหาโลกธุรกิจที่แท้จริง ข้อค้นพบพื้นฐานเกี่ยวกับประชากรขนาดเล็กตอบสนองเพียงเป็นบันไดก้าวแรกในการสำรวจความได้เปรียบในการแข่งขันที่เป็นการเติมเต็มความคิดออกแบบต่อการเตรียมการธุรกิจที่ตอบสนองได้ โดยที่การส่งเสริมข้อค้นพบเหล่านี้จำเป็นต้องทำการทดสอบด้วยความยากลำบากทั้งทางด้านคุณภาพและปริมาณด้วยการใส่ใจในการให้คำอธิบายตัวแปรต่าง ๆที่อาจมีอิทธิพลต่อผลสำเร็จที่ได้
แม้ว่าแบบทดสอบในเชิงสหวิทยาการระหว่างธุรกิจและสาขาอื่น ๆ คงจะเอื้ออำนวยให้แนวคิดหลายอย่างต่อนักศึกษาผู้เรียนธุรกิจ, ความคิดในการออกแบบโดยทั่วไปจะเปิดเผยให้นักศึกษาในวิธีการนั้น นอกจากนี้สมรรถนะทางธุรกิจแบบดั้งเดิมอาจจะพิจารณาว่าเป็นสิ่งจำเป็นต่อความสำเร็จในความซับซ้อนของปัจจุบันนี้และในสภาพแวดล้อมธุรกิจที่ไม่แน่นอน องค์ประกอบเหล่านี้ได้แก่ทัศนคติที่เชื่อสามารถทำได้ (can-do attitude) ในรูปโฉมของปัญหาที่ซับซ้อนและไม่สามารถคาดคะเนได้, ในการให้เหตุผลเชิงนิรนัย, การทำให้เกิดความซาบซึ้งสำหรับความคิดเห็นทัศนะที่หลากหลายและวาระของเพื่อนร่วมทีมและลูกค้า และการปฏิบัติที่มีผลสะท้อนอย่างลึกซึ้ง
โดยสรุป ระบบการศึกษาของไทยเกี่ยวกับหลักสูตรทางธุรกิจควรมีการเชื่อมโยงบูรณาการในลักษณะที่รวมเอาศาสตร์ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ทางธุรกิจ และการสร้างพันธมิตรภาควิชาเช่นภาควิชาธุรกิจกับภาควิชาการออกแบบศิลปะ, หรือภาคธุรกิจกับวิศวกรรม, หรือภาคธุรกิจกับการส่งเสริมการเมืองเพื่อประชาธิปไตย เพื่อสอนนักศึกษาให้คิดเป็น,ทำเป็น,แก้ปัญหาเป็นในโลกปฏิบัติที่แท้จริงโดยความคิดนักศึกษาคิดเองเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ หรื่อการประยุกต์ทฤษฎีไปใช้ในสถานการณ์จริง และมีการฝึกงานแบบจำลองตามสถานการณ์จริง (Interdisciplinary simulation)ทั้งในห้องเรียน และสถานที่จริง รวมทั้งการศึกษากรณีตัวอย่างเพื่อใช้ในการเปรียบเทียบ และเสริมสร้่างความคิดต่อยอดโดยองค์กรธรุกิจควรส่งเสริมระบบ Suggestion system ทำให้ธุรกิจอาจจมีการลงทุนที่ขยับขยายความคิดต่อยอดอย่างต่อเนื่อง โดยอาจมีความกล้าเสี่ยงในการลงทุนเพื่อผลในภายหน้า
จากผู้เขียนที่ได้รับการสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยจอห์น ฮอบสกิ้นส์, โปรแกมการศึกษานวัตกรรมเชิงศิลปะ, สถาบันธุรกิจคาเรย์ และวิทยาลัยศิลปะแมรีแลนด์
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น