แนวคิดเกี่ยวกับทุนมนุษย์ (1)
แนวคิดเกี่ยวกับทุนมนุษย์เกี่ยวข้องกับการสร้างมูลค่าเพิ่มบุคลากรเพื่อตอบสนององค์การ เป็นถ้อยคำที่กล่าวมาอย่างดีโดยเชสเกล (2004) ว่ามันคือทุนมนุษย์กล่าวคือเป็นผู้สร้างความแตกต่างหลากหลายสำหรับองค์การและโดยหลักพื้นฐานที่แท้จริงสำหรับ "การได้เปรียบเชิงแข่งขัน" สำหรับทฤษฎีทุนมนุษย์ดังที่ได้ระบุโดยเอห์เรนเบอร์กและสมิธ (1997) โดยมีแนวความคิดว่าบุคลากรในฐานะผู้เติมเต็มชุดของทักษะที่สามารถได้รับการว่าจ้างกับนายจ้าง ความรู้และทักษะที่คนงานมี ซึ่งมาจากการศึกษาและการฝึกอบรม ได้แก่การฝึกอบรมที่นำเอาประสบการณ์ที่สร้างสต๊อคของทุนการผลิต
ทุนมนุษย์คือองค์ประกอบสำคัญของทรัพย์สินที่ไม่สามารถสัมผัสได้ขององค์การ ทรัพย์สินที่สัมผัสได้แก่การสำเนาเอกสาร, การสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า,ยี่ห้อและภาพพจน์บริษัท แต่สิ่งต่าง ๆเหล่านี้โดยเฉพาะอย่างยิ่งโนว์ฮาว (know-how) จินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ของบุคลากร เป็นสิ่งสำคัญต่อความสำเร็จทางธุรกิจในฐานะที่เป็นทรัพย์สินแบบแข็ง ความสำคัญของทรัพย์สินมนุษย์อธิบายเหตุผลได้ว่าเป็นการวัดผลคุณค่าในฐานะเป็นปัจจัยของการประเมินถึงวิธีการที่บุคลการนำไปไช้ได้อย่างไร และการระบุถึงสิ่งที่จำเป็นต้องทำให้สำเร็จในการจัดการที่มีประสิทธิผลได้มาก
ดังที่ได้อธิบายโดยสการ์บอโรห์และอีเลียส (2002)ว่า "แนวคิดเกี่ยวกับทุนมนุษย์มัจะมีทัศนะที่มีประโยชน์มากที่สุดในฐานะที่เป็นความคิดเชื่อมโยง กล่าวคือเป็นการนิยามเชื่อมโยงระหว่างการปฏิบัติการด้านทรัพยากรมนุษย์กับผลงานทางธุรกิจในแง่ของทรัพย์สินมากกว่ากระบวนการธุรกิจ เขาได้ชี้เห็นว่าทุนมนุษย์คือขอบเขตที่กว้างใหญ่ที่ "ไร้มาตรฐาน ลักษณะแอบแฝง,เป็นพลวัตร,บริบทขึ้นอยู่กับการเติมเต็มในบุคลากร คุณลักษณะนี้ทำให้ยากต่อการประเมินทุนมนุษย์อันทำให้เป็นภาระทางด้านจิตใจที่เป็นลักษณะเด่นของทุนมนุษย์ซึ่ีงเป็นสิ่งสำคัญต่อผลงานบริษัทคือความยืดหยุ่นและความคิดสร้างสรรค์ของบุคลากร ความสามารถของบุคลากรในการปรับปรุงทักษะตลอดเวลาและตอบสนองในวิถีทางที่ได้รับการจูงใจในบริบทที่แตกต่าง พวกเขายังอ้างถึงว่า "ในทฤษฎีทุนมนุษย์ อ้างถึงเป็นสิ่งที่กระทำต่อบุคคล และทักษะ ในขณะที่ในทางทฤษฎีเกี่ยวกับทุนทางกายภาพอ้างถึงส่ิงที่กระทำต่อโรงงานและอุปกรณ์เครื่องมือ
ความหมายของทุนมนุษย์
ทุนมนุษย์ประกอบด้วยสิ่งที่เป็นคลังและกระแสความรู้เท่าที่มีอยู่ในองค์การ สิ่งนี้สามารถยอมรับได้ว่าทรัพยากรที่ไม่สามารถสัมผัสได้ซึ่งเกี่ยวข้องกับทรัพยากรที่สัมผัสได้เช่นทรัพย์สินที่เป็นเงินและวัตถุซึ่งประกอบด้วยมูลค่าตลาดและมูลค่ารวมของธุรกิจ บอนติส (1996,1998) ได้นิยามว่าทรัพยากรที่สัมผัสไม่ได้ว่าเป็นปัจจัยที่นอกเหนือจากทรัพย์สินที่ตัวเงินและวัตถุเพื่อตอบสนองต่อกระบวนการสร้างคุณค่าต่อบริษัทและอยู่ภายใต้การดูแล ดังที่ได้อธิบายโดยเอ็ดวินสัน และมาโรเน (1997) ว่าประกอบด้วยคุณค่าของความสัมพันธ์ทั้งหลายทั้งภายในและภายนอกองค์การอันได้แก่ลุกค้า, ผู้จัดหาสินค้า ทรัพยากรยังคลอบคลุมคุณค่าที่ยึดโยงกับสิ่งที่่ไม่สามารถสัมผัสได้แก่ค่านิยม,ภาพพจน์และยี่ห้อสินค้า
สรุปจากแนวคิด,ความหมายเกี่ยวกับทุนมนุษย์เมื่อเทียบกับแนวคิดของหลักการทางพุทธศาสนา ซึ่งหากนำแนวคิดทุนมนุษย์จะพบว่ายังมีสิ่งที่อยู่นอกเหนือทุนมนุษย์ในรูปแบบทางจิตใจ เช่นอริยทรัพย์หรือทรัพย์ภายใน, ทร์พย์ที่สะสมไว้ในชาติต่อไป เป็นทรั้พย์ที่ไม่สามารถมองเห็นหรือสัมผัสได้ เป็นทรัพย์สินทางอารมณ์ที่ทำให้มีอาการปิติสุขที่มีมากกว่าทรัพย์สินที่เป็นวัตถุ,เงินตรา ซึ่งเป็นของภายนอก แม้กระทั่งการสั่งสมบารมีทาน,สมาธิภาวนา,การก่อให้เกิดปัญญาล้วนแล้วเป็นทรัพย์สินที่มีคุณค่า และไม่เสื่อมสลาย หากจะเสื่อมสลายก็เป็นเพียงแต่สังขารที่ร่วงโรย แต่สิ่งที่เป็นจิตวิญญาณนั้นเป็นอมตะ และเป็นทุนทางจิตวิญญาณของมนุษย์อย่างไม่มีสินสุด
ทุนมนุษย์คือองค์ประกอบสำคัญของทรัพย์สินที่ไม่สามารถสัมผัสได้ขององค์การ ทรัพย์สินที่สัมผัสได้แก่การสำเนาเอกสาร, การสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า,ยี่ห้อและภาพพจน์บริษัท แต่สิ่งต่าง ๆเหล่านี้โดยเฉพาะอย่างยิ่งโนว์ฮาว (know-how) จินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ของบุคลากร เป็นสิ่งสำคัญต่อความสำเร็จทางธุรกิจในฐานะที่เป็นทรัพย์สินแบบแข็ง ความสำคัญของทรัพย์สินมนุษย์อธิบายเหตุผลได้ว่าเป็นการวัดผลคุณค่าในฐานะเป็นปัจจัยของการประเมินถึงวิธีการที่บุคลการนำไปไช้ได้อย่างไร และการระบุถึงสิ่งที่จำเป็นต้องทำให้สำเร็จในการจัดการที่มีประสิทธิผลได้มาก
ดังที่ได้อธิบายโดยสการ์บอโรห์และอีเลียส (2002)ว่า "แนวคิดเกี่ยวกับทุนมนุษย์มัจะมีทัศนะที่มีประโยชน์มากที่สุดในฐานะที่เป็นความคิดเชื่อมโยง กล่าวคือเป็นการนิยามเชื่อมโยงระหว่างการปฏิบัติการด้านทรัพยากรมนุษย์กับผลงานทางธุรกิจในแง่ของทรัพย์สินมากกว่ากระบวนการธุรกิจ เขาได้ชี้เห็นว่าทุนมนุษย์คือขอบเขตที่กว้างใหญ่ที่ "ไร้มาตรฐาน ลักษณะแอบแฝง,เป็นพลวัตร,บริบทขึ้นอยู่กับการเติมเต็มในบุคลากร คุณลักษณะนี้ทำให้ยากต่อการประเมินทุนมนุษย์อันทำให้เป็นภาระทางด้านจิตใจที่เป็นลักษณะเด่นของทุนมนุษย์ซึ่ีงเป็นสิ่งสำคัญต่อผลงานบริษัทคือความยืดหยุ่นและความคิดสร้างสรรค์ของบุคลากร ความสามารถของบุคลากรในการปรับปรุงทักษะตลอดเวลาและตอบสนองในวิถีทางที่ได้รับการจูงใจในบริบทที่แตกต่าง พวกเขายังอ้างถึงว่า "ในทฤษฎีทุนมนุษย์ อ้างถึงเป็นสิ่งที่กระทำต่อบุคคล และทักษะ ในขณะที่ในทางทฤษฎีเกี่ยวกับทุนทางกายภาพอ้างถึงส่ิงที่กระทำต่อโรงงานและอุปกรณ์เครื่องมือ
ความหมายของทุนมนุษย์
ทุนมนุษย์ประกอบด้วยสิ่งที่เป็นคลังและกระแสความรู้เท่าที่มีอยู่ในองค์การ สิ่งนี้สามารถยอมรับได้ว่าทรัพยากรที่ไม่สามารถสัมผัสได้ซึ่งเกี่ยวข้องกับทรัพยากรที่สัมผัสได้เช่นทรัพย์สินที่เป็นเงินและวัตถุซึ่งประกอบด้วยมูลค่าตลาดและมูลค่ารวมของธุรกิจ บอนติส (1996,1998) ได้นิยามว่าทรัพยากรที่สัมผัสไม่ได้ว่าเป็นปัจจัยที่นอกเหนือจากทรัพย์สินที่ตัวเงินและวัตถุเพื่อตอบสนองต่อกระบวนการสร้างคุณค่าต่อบริษัทและอยู่ภายใต้การดูแล ดังที่ได้อธิบายโดยเอ็ดวินสัน และมาโรเน (1997) ว่าประกอบด้วยคุณค่าของความสัมพันธ์ทั้งหลายทั้งภายในและภายนอกองค์การอันได้แก่ลุกค้า, ผู้จัดหาสินค้า ทรัพยากรยังคลอบคลุมคุณค่าที่ยึดโยงกับสิ่งที่่ไม่สามารถสัมผัสได้แก่ค่านิยม,ภาพพจน์และยี่ห้อสินค้า
สรุปจากแนวคิด,ความหมายเกี่ยวกับทุนมนุษย์เมื่อเทียบกับแนวคิดของหลักการทางพุทธศาสนา ซึ่งหากนำแนวคิดทุนมนุษย์จะพบว่ายังมีสิ่งที่อยู่นอกเหนือทุนมนุษย์ในรูปแบบทางจิตใจ เช่นอริยทรัพย์หรือทรัพย์ภายใน, ทร์พย์ที่สะสมไว้ในชาติต่อไป เป็นทรั้พย์ที่ไม่สามารถมองเห็นหรือสัมผัสได้ เป็นทรัพย์สินทางอารมณ์ที่ทำให้มีอาการปิติสุขที่มีมากกว่าทรัพย์สินที่เป็นวัตถุ,เงินตรา ซึ่งเป็นของภายนอก แม้กระทั่งการสั่งสมบารมีทาน,สมาธิภาวนา,การก่อให้เกิดปัญญาล้วนแล้วเป็นทรัพย์สินที่มีคุณค่า และไม่เสื่อมสลาย หากจะเสื่อมสลายก็เป็นเพียงแต่สังขารที่ร่วงโรย แต่สิ่งที่เป็นจิตวิญญาณนั้นเป็นอมตะ และเป็นทุนทางจิตวิญญาณของมนุษย์อย่างไม่มีสินสุด
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น