ภาวะผู้นำแบบปรับเปลี่ยนในห้องเรียน: การขับเคลื่อนการเรียนรู้นักศึกษา,การมีส่วนร่วมของนักศึกษาลและการสร้างความเชื่อถือของครู
จุดประสงค์ของการศึกษานี้เพื่อเป็นการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำแบบปรับเปลี่ยนในชั้นเรียนระดับวิทยาลัย (เช่นแบบจำลองผู้นำแบบบารมี, แบบคำนึงถึงรายบุคคล,แบบสร้างสติปัญญา), ผลที่ได้จากการเรียน (ตัวอย่างเช่นการเรียนรู้แบบรับรู้,การรักการเรียนรู้,การบ่งบอกถึงแรงจูงใจ,ความพึงพอใจในการสื่อสาร), การมีส่วนร่วมของนักศึกษา,และการรับรู้ของนักศึกษาเกี่ยวกับความน่าเชื่อถือของครู (ตัวอย่างเช่นการมีสมรรถนะ,ความน่าเชื่อถือไว้วางใจ,ค่านิยม) ผู้มีส่วนร่วมในการวิจัย 165 คนที่รายงานผลเกี่ยวกับภาวะผู้นำของผู้สอนนอกจากพฤติกรรมและการเรียนรู้ของห้องเรียนของพวกเขาเอง ผลวิจัยให้ข้อเสนอแนะว่าองค์ประกอบสามส่วนของภาวะผู้นำแบบปรับเปลี่ยนในการสอนมีความสัมพันธ์ในระดับปานกลางถึงระดับสูงที่เกี่ยวกับตัวแปรผลที่ได้รับทั้งหมด การวิจัยในอนาคตควรพิจารณาพฤติกรรมการสอนที่แสดงถึงภาวะผู้นำแบบปรับเปลี่ยนในห้องเรียน, ในลักษณะข้ามวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน
การสอนที่ดีจำเป็นต้องมีทักษะและความอดทนและเกี่ยวข้องกับความสามารถในการแก้ปัญหาข้อมูลข่าวสารได้มากกว่าอย่างง่าย ๆ ((Kramer &
Pier, 1999) ครูที่ดีต้องเชี่ยวชาญในวิชาการเช่นเดียวกับการเชี่ยวชาญพลวัตรทางสังคมของการสื่อสารในห้องเรียน (Catt,
Miller, &Schallenkamp, 2007) ครูต้องสามารถนำเสนอวัตถุดิบ,การจัดการห้องเรียนได้ดีแม้ว่าการสอนที่ดีอาจเป็นงานยาก ครูมีทรัพยากรมากในการใช้เวลาเพื่อช่วยให้เกิดการช่วยให้มีศักยภาพสูงสุดในห้องเรียน ตัวอย่างเช่นการวิจัยเกี่ยวกับการสื่อสารเพื่อการสอนได้เปิดเผยถึงพฤติกรรมอย่างมากมายของครูที่ดีหรือที่ำลาย(Nussbaum,1992) หรือทำลาย(Boice,1996) ในการเรียนของนักศึกษาและผลกระทบต่อการเรียน ทรัพยากรอีกอย่างหนึ่งที่ครูต้องมีเพื่อช่วยให้นักศึกษามีการเรียนที่ดีมากขึ้นในห้องเรียนมาจากวรรณกรรมเกี่ยวกับภาวะผู้นำ จำนวนนักวิชาการมีข้อสังเกตว่าทฤษฎีภาวะผู้นำองค์การสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในห้องเรียน และจากการศึกษาเหล่านี้พบว่ารูปแบบของการใช้ภาวะผู้นำแบบปรับเปลี่ยน ครูสามารถมีอิทธิพลต่อนักศึกษาและการรับรู้ในเชิงบวก ตัวอย่างเช่นพาวเดอร์ (2008) พบว่าผู้สอนที่รับรู้ภาวะผู้นำแบบปรับเปลี่ยนมีอิทธิพลต่อผลที่ได้รับอย่างหลากหลายได้แก่การทำงานพิเศษจากนักศึกษา การเพื่มการบรู้ประสิทธิผลของผู้นำ และการเพิ่มความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อครู การสืบค้นเกี่ยวกับภาวะผู้นำในห้องเรียนเป็นการสำรวจผลกระทบต่อภาวะผู้นำเกี่ยวกับการรับรู้ของนักศึกษาของประสบการณ์การเรียน อย่างไรก็ตามการศึกษาเหล่ายังคงรูปแบบทดสอบผลกระทบต่อภาวะผู้นำแบบปรับเปลี่ยนเกี่ยวกับตัวแปรผลลัพธ์ที่หยิบยืมจากวรรณกรรมองค์การ กล่าวคือนักวิจัยได้ทำการทดสอบผลกระทบต่อภาวะผู้นำของครู
เกี่ยวกับตัวแปรเช่นการทำงานพิเศษของนักศึกษาในห้องเรียน การรับรู้ของนักศึกษาเกี่ยวกับประสิทธิผลของผู้สอน และความพึงพอใจ อะไรคือสิ่งผิดพลาดในวรรณกรรมคือการทืดสอบเกี่ยวกับภาวะผู้นำแบบปรับเปลี่ยนและความสัมพันธ์ของภาวะผู้นำแบบปรับเปลี่ยนกับนักศึกษาที่เป็นผลการเรียนรู้ของนักศึกษาและการสื่อสารในห้องเรียน งานวิจัยนี้พยายามที่จะแก้ไขสิ่งที่มองข้ามจากการทดสอบสิ่งเชื่อมโยงระหว่างภาวะผู้นำแบบปรับเปลี่ยนและผลที่ได้จากการเรียนรู้ของนักศึกษา (ตัวอย่างเช่นการเรียนรู้แบบรับรู้,การเรียนรู้แบบจงรักภักดี, การแสดงออกทางแรงจูงใจ,ความพึงพอใจในการสื่อสาร), การมีส่วนร่วมของนักศึกษาและการรับรู้เกี่ยวกับความน่าเชื่อถือของครู
ภาวะผู้นำแบบปรับเปลี่ยน (Transormational Leadership)
แนวความคิดเกี่ยวกับภาวะผู้นำสองประการที่มักจะหยิบยกในวรรณกรรมการจัดการได้แก่ภาวะผู้นำแบบแลกเปลี่ยน (transactional leadership) และภาวะผู้นำแบบปรับเปลี่ยน (transformational leadership) ภาวะผู้นำแบบแลกเปลี่ยนหมายถึงแนวทางที่เป็นเครื่องมือสำหรบภาวะผู้นำองค์การและสัมพันธ์อย่างกว้างขวางกับการเน้นงานสำหรับฝ่ายจัดการ (Conger,1999) ผู้จัดการใช้ภาวะผู้นำแบบแลกเปลี่ยนจูงใจลูกน้องโดยการตอบสนองหรือการให้รางวัลจูงใจภายนอก ส่วนภาวะผู้นำแบบปรับเปลี่ยนได้รูปแบบที่เท่าเทียมมกับการปรับเปลี่ยนในระเบียบคำสั่งที่ใช้อยู่เช่นเดียวกับการนำมาเผยแพร่โดยตรง, ความต้องการของผู้ตามสำหรับความหมายและการพัฒนา คองเกอร์เสนอแนะว่าไม่เหมือนผู้นำแบบแลกเปลียน ผู้นำแบบปรับเปลียนมักเกี่ยวข้องอย่างมากกับการเพิ่มพลังอำนาจมากกว่าใช้กลยุทธ์การควบคุม สำหรับจุดประสงค์ของการศึกษาวิจัยนี้มักเกี่ยวข้องกับภาวะผู้นำแบบปรับเปลียนในห้องเรียน |
|
Bass (1985) นิยามภาวะผู้นำแบบปรับเปลี่ยนดังเช่นการสังเคราะห์ขององค์ประกอบสามส่วนได้แก่ผู้นำแบบบารมี,ผู้นำที่คำนึงผู้เรียน,และแบบจำลองสติปัญญา บารมีหมายถึงการทำหน้าที่ของความเชื่อนักศึกษาในตัวผู้นำและภารกิจของเขาและการยอมรับ,ความเชื่อถือไว้วางใจและการอุทิศตัวในผู้นำ ผู้นำแบบบารมีมักพิจารณาจากความใส่ใจผู้เรียนเป็นลักษณะพลวัตร,การทำงานหนัก,ความเชื่อมั่น,แรงดึงดูด,ความสามารถล และความสำเร็จ องค์ประกอบย่อยของบารมีคือการสร้างแรงดลใจ Bass นิยามผู้นำแบบสร้างแรงดลใจว่าเป็นการกระตุ้นทางด้านอารมณ์,ภาพความเคลื่อนไหวและความคึกคัก องค์ประกอบที่สองของภาวะผู้นำแบบปรับเปลี่ยนคือการใส่ใจในตัวบุคคล องค์ประกอบนี้คือสิ่งที่เกี่ยวข้องกับผู้นำที่ปฏิบัติต่อนักศึกษาที่แตกต่างตามความต้้องการและความสามารถของบุคคล การใส่ใจบุคคลมักสัมพันธ์สิ่งที่เต็มไปด้วยการใช้ความคิดสำหรับคนอื่นและการให้คำปรึกษานักศึกษา ประการที่สามและองค์ประกอบสุดท้ายของผู้นำแบบปรับเปลี่ยนคือการกระตุ้นให้ใช้ปัญญา (intellectual stimulation) องค์ประกอบภาวะผู้นำแบบนี้สัมพันธ์กับผู้นำที่กระตุ้นความพยายามเป็นพิเศษในผู้ตามจากการผลักดันนักศึกษ๋าเพื่อให้เกิดความคิดใหม่ที่พวกเขาอาจจะไม่เคยถูกตั้งคำถามมาก่อนเลย (Bass,1985)
|
|
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น