บทที่ 7 การวางแผนอาชีพและพัฒนาอาชีพ

7.1 ความหมายของการวางแผนอาชีพ (Career Planning)
      คือกระบวนการที่ต่อเนื่องในตัวบุคคลในการกำหนดเป้าหมายอาชีพและแยกแยะปัจจัยที่จะบรรลุเป้าหมาย การวางแผนอาชีพโดยเฟรด ไพรซ์ ได้แก่ทางเดินอาชีพที่เขาคาดหวังในการนำเขาจากตำแหน่งระดับล่างไปสู่ตำแหน่งผู้จัดการโรงงาน จุดมุ่งสำคัญของการวางแผนอาชีพควรจะสอดคล้องกับเป้าหมายส่วนบุคคลในโอกาสต่าง ๆที่มีความเป็นจริงเท่าที่ทำได้
7.2 ทางเดินอาชีพ (Career Path) คือเส้นทางความยืดหยุ่นในความเคลื่อนไหวโดยผ่านเส้นทางอาชีพที่กำหนดไว้
7.3 การพัฒนาอาชีพ (Career Development) คือแนวทางที่เป็นทางการที่นำไปใช้ในองค์การเพื่อช่วยให้บุคลากรได้มาซึ่งทักษะ(Skill) และประสบการณ์ที่ต้องการเพื่อปฏิบัติงานปัจจุบันและอนาคต
7.4 ความมั่นคงในงาน (Job Security) และความมั่นคงในอาชีพ (Career Security)
7.5 ขั้นตอนอาชีพที่กระทบต่อชีวิต
      7.5.1 ขั้นเติบโต (Growth Stage)
      7.5.2 ขั้นสำรวจ (Exploration stage)
      7.5.3 ขั้นบำรุงรักษา (Maintenance Stage)
      7.5.4 ขั้นร่วงโรย (Decline Stage)
7.6 หลักเกี่ยวกับอาชีพ (Career Anchor)
      7.6.1 สมรรถนะการจัดการ (managerial competence)
      7.6.2 สมรรถนะหน้าที่การงานและเทคนิค (Technical/Functional competence)
      7.6.3 ความมั่นคง (security)
      7.6.4 ความคิดสร้างสรรค์ (creativity)
      7.6.5 ความเป็นอิสระและเอกเทศ (Autonomy and Independence)
      7.6.6 สมรรถนะทางเทคโนโลยี (Technological competence)
7.7 การวางแผนอาชีพ: การประเมินผลด้วยตนเอง
      7.7.1 ขั้นตอน 14 ประการในเส้นทางอาชีพแบบใหม่
      7.7.2 ผลสำรวจความชอบและไม่ชอบ
      7.7.3 การประเมินผลอาชีพโดยผ่านเวป
      7.7.4 การวางแผนอาชีพขององค์การ
7.8 เส้นทางอาชีพแบบดั้งเดิม
7.9 เส้นทางอาชีพแบบเครือข่าย
7.10 เส้นทางอาชีพแบบทักษะแนวข้าง
7.11 เส้นทางอาชีพแบบคู่
7.12 การเติมคุณค่าในอาชีพของคุณ
7.13 การลดตำแหน่ง (Demotion)
7.14 วฺิธีการวางแผน และพัฒนาอาชีพ
        ก) การอภิปรายกับบุคลากรที่มีความรู้
        ข) วัตถุดิบขององค์การ
        ค) ระบบประเมินผลงาน
        ง) การจัดทำเวอร์คชอป
        จ) แผนพัฒนาบุคลากร
        ฉ) การใช้ Software Packages
        ช) เวบไซต์วางแผนอาชีพ
7.15 การใช้อินเตอร์เน็ตสำหรับการวางแผนและพัฒนาอาชีพสำหรับเครื่องมือของรัฐเท็กซัส
7.16 การปรับปรุงส่วนแบ่งกำลังแรงงานที่คล้ายคลึงกัน
        ก) พวก generation x
        ข) พนักงานโรงงานใหม่
        ค) พวก generation I ในฐานะที่เป็นพนักงานอนาคต

      



             

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ระบบการเมืองที่ดีเหมือนปลาในอ่างแก้วที่มองเห็นตัวปลาชัดเจน

108 คำคมขงเบ้ง คำคมสอนใจ จากขงเบ้ง

ตัวแบบงบประมาณผูกพัน (Beyond Budgeting) ตอนที่หนึ่ง