กลอน "ทฤษฎีพฤติกรรมที่คาดคะเนล่วงหน้า" (Theory of planned behavior)
ทฤษฎีพฤติกรรมที่วางแผน มาจากแปลนวิชาการผู้ค้นคิด
ที่ชื่อว่าอัจเซ็นท่านประดิษฐ์ เพื่อสะกิดเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
ของคนเราที่แสดงออกอย่างจงใจ สิ่งนั้นไซร้มีแผนล่วงหน้าทำ
ทฤษฎีนี้คล้ายคลึงกับถ้อยคำ คือลำนำการกระทำมีเหตุผล (Reasoned Action)
การสืบต่อเป็นเหตุผลใช้ชี้นำ พฤติกรรมที่ค้นพบปรากฎขึ้น
ไม่ถึงร้อยเปอร์เซ็นต์เป็นอย่างอื่น แต่ต้องฝืนภายใต้การควบคุม
ผลที่เกิดรับรู้พฤติกรรม คือถ้อยคำทฤษฎีที่เกาะกุม
การกระทำของมนุษย์นั้นคลอบคลุม เมื่อแบ่งขุมความคิดสามประการ
หนึ่งความเชื่อพฤติกรรมนั้นไขขาน ความเชื่อการลำดับพฤติกรรม
สองความเชื่อปทัสถานย้ำ ความเชื่่อนำคาดหวังในผู้อื่น
สามความเชื่อในควบคุมนั้นหมายถึง แสดงถึงปัจจัยที่ไหลลื่น
หรือขวางผลพฤติกรรมในจุดยืน ที่หยิบยื่นไปตามสถานการณ์
ทั้งแผนงาน,โครงการทุกวันคืน เพื่อเฝ้าตื่นพฤติกรรมที่จำเป็น
ในการนำการเปลี่ยนแปลงเป็นประเด็น ที่เล็งเห็นพฤติกรรมที่บ่งบอก
ทัศนคติพอใจหรือว่าไม่พอใจ เกี่ยวข้องในพฤติกรรมแสดงออก
ในความเชื่อปทัสถานไม่ย้อนยอก รับรู้บอกแรงกดดันทางสังคม
หรือปทัสถานอัตตานั้นคอยบอก ที่ย้ำตอกความเชื่อการควบคุม
การผสมผสานทัศนะได้หลายขุม ที่คลอบคลุมพฤติกรรม,บรรทัดฐาน
ของอัตตาและรับรู้การควบคุม รวมประชุมก่อรูปกำหนดการ
ความจงใจพฤติกรรมนั้นกล่าวขาน กฎเกณฑ์การทั่วไปควรคำนึง
หากทัศนะเชิงปทัสถาน ที่เกี่ยวการอัตตาต้องประสงค์
ยิ่งมากขึ้นเท่าใดอย่างบรรจง ก็ยิ่งคงรับรู้ควบคุมสูง
และสิ่งที่ตั้งใจการกระทำ พฤติกรรมคำถามย่อมชักจูง
ควรเป็นสิ่งเข้มแข็งสิ่งหมายมุ่ง คือการจูงพฤติกรรมคาดคำนึง
ผลตกค้างในอดีตใช่วันพรุ่ง สิ่งที่ยุ่งพฤติกรรมก่อตามมา
นายอัจเซ็นได้สำรวจวิจัยหนา ผลตามมาในอดีตที่ก่อผล
ก่อเป็นผลพฤติกรรมเกิดภายหลัง สรุปดังว่าปัจจัยเกิดข้อค้น
หาใช่เป็นนิสัยติดตัวตน ดังคำคนกำลังคิดเป็นเช่นนั้น
เมื่อทบทวนหลักฐานไม่ตกหล่น ช่วยขุดค้นข้อเสนอในที่ว่า
ผลกระทบตกค้างที่ผ่านมา เจือจางหนาเมื่อทดสอบสองตัวแปร
คือความต้้งใจและพฤติกรรม คู่กระทำและกระทบต่อแน่แท้
สิ่งสูญเสียเมื่อตั้งใจอย่างแน่วแน่ ซึ่งเกิดแด่ก่อรูปเป็นอย่างดี
ความคาดหวังนั้นเป็นจริงไม่เหวี่ยงแห เมื่อเกิดแก่วางแผนเฉพาะทาง
เพื่อตั้งใจติดตามในแนวทาง ได้ปูทางพัฒนาดังกล่าวมา
ดังตัวอย่างงานวิจัยการท่องเที่ยว ผลเกาะเกี่ยวโดยสรุปทางเลือกใหม่
ในอดีตที่ผ่านมาสะท้อนใน สิ่งนั้นไซร้พฤติกรรมตกทอดมา
ที่ชื่อว่าอัจเซ็นท่านประดิษฐ์ เพื่อสะกิดเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
ของคนเราที่แสดงออกอย่างจงใจ สิ่งนั้นไซร้มีแผนล่วงหน้าทำ
ทฤษฎีนี้คล้ายคลึงกับถ้อยคำ คือลำนำการกระทำมีเหตุผล (Reasoned Action)
การสืบต่อเป็นเหตุผลใช้ชี้นำ พฤติกรรมที่ค้นพบปรากฎขึ้น
ไม่ถึงร้อยเปอร์เซ็นต์เป็นอย่างอื่น แต่ต้องฝืนภายใต้การควบคุม
ผลที่เกิดรับรู้พฤติกรรม คือถ้อยคำทฤษฎีที่เกาะกุม
การกระทำของมนุษย์นั้นคลอบคลุม เมื่อแบ่งขุมความคิดสามประการ
หนึ่งความเชื่อพฤติกรรมนั้นไขขาน ความเชื่อการลำดับพฤติกรรม
สองความเชื่อปทัสถานย้ำ ความเชื่่อนำคาดหวังในผู้อื่น
สามความเชื่อในควบคุมนั้นหมายถึง แสดงถึงปัจจัยที่ไหลลื่น
หรือขวางผลพฤติกรรมในจุดยืน ที่หยิบยื่นไปตามสถานการณ์
ทั้งแผนงาน,โครงการทุกวันคืน เพื่อเฝ้าตื่นพฤติกรรมที่จำเป็น
ในการนำการเปลี่ยนแปลงเป็นประเด็น ที่เล็งเห็นพฤติกรรมที่บ่งบอก
ทัศนคติพอใจหรือว่าไม่พอใจ เกี่ยวข้องในพฤติกรรมแสดงออก
ในความเชื่อปทัสถานไม่ย้อนยอก รับรู้บอกแรงกดดันทางสังคม
หรือปทัสถานอัตตานั้นคอยบอก ที่ย้ำตอกความเชื่อการควบคุม
การผสมผสานทัศนะได้หลายขุม ที่คลอบคลุมพฤติกรรม,บรรทัดฐาน
ของอัตตาและรับรู้การควบคุม รวมประชุมก่อรูปกำหนดการ
ความจงใจพฤติกรรมนั้นกล่าวขาน กฎเกณฑ์การทั่วไปควรคำนึง
หากทัศนะเชิงปทัสถาน ที่เกี่ยวการอัตตาต้องประสงค์
ยิ่งมากขึ้นเท่าใดอย่างบรรจง ก็ยิ่งคงรับรู้ควบคุมสูง
และสิ่งที่ตั้งใจการกระทำ พฤติกรรมคำถามย่อมชักจูง
ควรเป็นสิ่งเข้มแข็งสิ่งหมายมุ่ง คือการจูงพฤติกรรมคาดคำนึง
ผลตกค้างในอดีตใช่วันพรุ่ง สิ่งที่ยุ่งพฤติกรรมก่อตามมา
นายอัจเซ็นได้สำรวจวิจัยหนา ผลตามมาในอดีตที่ก่อผล
ก่อเป็นผลพฤติกรรมเกิดภายหลัง สรุปดังว่าปัจจัยเกิดข้อค้น
หาใช่เป็นนิสัยติดตัวตน ดังคำคนกำลังคิดเป็นเช่นนั้น
เมื่อทบทวนหลักฐานไม่ตกหล่น ช่วยขุดค้นข้อเสนอในที่ว่า
ผลกระทบตกค้างที่ผ่านมา เจือจางหนาเมื่อทดสอบสองตัวแปร
คือความต้้งใจและพฤติกรรม คู่กระทำและกระทบต่อแน่แท้
สิ่งสูญเสียเมื่อตั้งใจอย่างแน่วแน่ ซึ่งเกิดแด่ก่อรูปเป็นอย่างดี
ความคาดหวังนั้นเป็นจริงไม่เหวี่ยงแห เมื่อเกิดแก่วางแผนเฉพาะทาง
เพื่อตั้งใจติดตามในแนวทาง ได้ปูทางพัฒนาดังกล่าวมา
ดังตัวอย่างงานวิจัยการท่องเที่ยว ผลเกาะเกี่ยวโดยสรุปทางเลือกใหม่
ในอดีตที่ผ่านมาสะท้อนใน สิ่งนั้นไซร้พฤติกรรมตกทอดมา
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น