กลอนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ตอนที่ 61
การเรียนรู้ประสบการณ์มากที่สุด สิ่งเยี่ยมยุทธ์โดยนักคิดที่ชื่อคอล์ป
เกี่ยวกับวัฎจักรเรียนรู้ที่คุมคลอบ มีคำตอบสี่ขั้นตอนการเรียนรู้
ปัจเจกชนขึ้นอยู่กับการพิจารณา แหล่งที่มาชีวิตจริงคล้ายเป็นครู
มีสัมพันธ์กับผู้อื่นเป็นกูรู ได้เรียนรู้ประสบการณ์โดยพื้นฐาน
เป็นประโยชน์ตอบสนองการรับรู้ จากการดูสังเกต,สิ่งสะท้อน
ติดตามผลการกระทำ,สัมพันธ์ก่อน คิดยอกย้อนตีความและปรับปรุง
บุคคลชอบสะท้อนทุกวันไซร้ เป็นเหตุให้สังเกตการณ์ที่หมายมุ่ง
เป็นกระจกสะท้อนที่เรืองรุ่ง ชีวิตพุ่งเพราะเดินหน้าไม่ถอยหลัง
ปัจเจกชนได้กฎเกณฑ์แจ่มจรุง โดยปรับปรุงมุ่งสังเกตุภาพสะท้อน
โดยเรียนรู้ประสบการณ์จากละคร คอยพร่ำสอนเปลียนแปลงแผนบุคคล
อีกนัยหนึ่งต้องทดสอบหรือทดลอง เืพื่อสอดส่องแนววิถีสำเร็จผล
โดยทบทวนวัฎจักรที่ซ่อนกล เพื่อผ่อนปรนสิ่งสัมฤทธิ์ผิดพลาดไป (Kolb,et al,1955)
ฮันนี่,มุมฟอร์ดทั้งสองคน ได้เริ่มต้นพัฒนาลีลาขาน
คือเรียนรู้ที่แตกต่างสี่ประการ มาจากฐานแบบสอบถามทั้งหลายแหล่
ที่ช่วยเหลือและกำหนดต่างรูปแบบ อย่างยลแยบลีลาดังกล่าวแท้
หนึ่งคือนักกิจกรรม (Activist)ที่แน่วแน่ มุ่งหมายแก่การงานขยันแรง
สองคือนักสะท้อนภาพ(Reflector)มุ่งหมายแก้ โดยเห็นแก่ประสบการณ์งานที่ทำ
มุ่งอยู่หลังเฝ้าฟัง,สังเกตคำ ทั้งขาวดำชั่วดีมีคุณค่า
สามนักทฤษฎี(Theorist)มองถ้วนถี่ หาวิธีคิดแบบใหม่ทำเข้าท่า
เพื่อดูดกลืนความคิดใหม่มีราคา กระทำช้าเสียเวลาไม่ทันกาล
สามคือนักปฏิบัิตินิยม(Pragmatist)หนา เรียนรู้มาเชื่อมโยงกับข่าวสาร
จากปัญหาชีวิตจริงที่พบผ่าน ชอบนำมาใช้ประยุกต์โดยทันที
ปัจจุบันประจักษ์อย่างแน่นหนา แนะนำว่าเรียนรู้นั้นมีผลดี
จากลูกน้องเชื่อทักษะ,งานหน้าที่ มรรควิธีฝ่ายจัดการทบทวนงาน
เกี่ยวกับวัฎจักรเรียนรู้ที่คุมคลอบ มีคำตอบสี่ขั้นตอนการเรียนรู้
ปัจเจกชนขึ้นอยู่กับการพิจารณา แหล่งที่มาชีวิตจริงคล้ายเป็นครู
มีสัมพันธ์กับผู้อื่นเป็นกูรู ได้เรียนรู้ประสบการณ์โดยพื้นฐาน
เป็นประโยชน์ตอบสนองการรับรู้ จากการดูสังเกต,สิ่งสะท้อน
ติดตามผลการกระทำ,สัมพันธ์ก่อน คิดยอกย้อนตีความและปรับปรุง
บุคคลชอบสะท้อนทุกวันไซร้ เป็นเหตุให้สังเกตการณ์ที่หมายมุ่ง
เป็นกระจกสะท้อนที่เรืองรุ่ง ชีวิตพุ่งเพราะเดินหน้าไม่ถอยหลัง
ปัจเจกชนได้กฎเกณฑ์แจ่มจรุง โดยปรับปรุงมุ่งสังเกตุภาพสะท้อน
โดยเรียนรู้ประสบการณ์จากละคร คอยพร่ำสอนเปลียนแปลงแผนบุคคล
อีกนัยหนึ่งต้องทดสอบหรือทดลอง เืพื่อสอดส่องแนววิถีสำเร็จผล
โดยทบทวนวัฎจักรที่ซ่อนกล เพื่อผ่อนปรนสิ่งสัมฤทธิ์ผิดพลาดไป (Kolb,et al,1955)
ฮันนี่,มุมฟอร์ดทั้งสองคน ได้เริ่มต้นพัฒนาลีลาขาน
คือเรียนรู้ที่แตกต่างสี่ประการ มาจากฐานแบบสอบถามทั้งหลายแหล่
ที่ช่วยเหลือและกำหนดต่างรูปแบบ อย่างยลแยบลีลาดังกล่าวแท้
หนึ่งคือนักกิจกรรม (Activist)ที่แน่วแน่ มุ่งหมายแก่การงานขยันแรง
สองคือนักสะท้อนภาพ(Reflector)มุ่งหมายแก้ โดยเห็นแก่ประสบการณ์งานที่ทำ
มุ่งอยู่หลังเฝ้าฟัง,สังเกตคำ ทั้งขาวดำชั่วดีมีคุณค่า
สามนักทฤษฎี(Theorist)มองถ้วนถี่ หาวิธีคิดแบบใหม่ทำเข้าท่า
เพื่อดูดกลืนความคิดใหม่มีราคา กระทำช้าเสียเวลาไม่ทันกาล
สามคือนักปฏิบัิตินิยม(Pragmatist)หนา เรียนรู้มาเชื่อมโยงกับข่าวสาร
จากปัญหาชีวิตจริงที่พบผ่าน ชอบนำมาใช้ประยุกต์โดยทันที
ปัจจุบันประจักษ์อย่างแน่นหนา แนะนำว่าเรียนรู้นั้นมีผลดี
จากลูกน้องเชื่อทักษะ,งานหน้าที่ มรรควิธีฝ่ายจัดการทบทวนงาน
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น