บทความ

ตัวแบบวุฒิภาวะความสามารถ (Capability Maturity Model)ตอนที่หนึ่ง

รูปภาพ
                               ตัวแบบวุฒิความสามารถนั้น     สิ่งสร้างสรรค์แบบองค์การบริหาร          อธิบายห้าขั้นตอนวิวัฒนาการ              เกี่ยวข้องงานกระบวนการในองค์การ          ในความคิดเบื้องหลังของแบบอย่าง      แนวทางสร้างพัฒนาซอฟแวร์งาน          องค์การควรดูดซับพร้อมขับขาน           เพื่อเป็นฐานประยุกต์ใช้ในซอฟแวร์                     ตัวแบบยังมีขั้นตอนเฉพาะด้าน  กิจกรรมงานระดับหนึ่งและรุดหน้า          ห้าขั้นตอนแบบวุฒิสามารถหนา            หนึ่งนำพากระบวนการเป็นพื้นฐาน (initial)          ในแบบอย่างชั่วคราวแลสับสน             สองสืบผลซ้ำซากกำหนดงาน (repeatable)             โดยยึดมั่นกระบวนการ อย่างเหนียวแน่น  สามจับแก่นนิยามทุกกระบวนการ (defined)                 ทุกอย่างบูรนาการมาตรฐาน                สี่จัดการรวม่ข้อมูล,คุณภาพ (managed)                      ห้าเน้นผลลัพธ์ (optimizing) สูงสุดบริหาร เพื่อจัดการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง          เพื่อปรับปรุงทบทวนเทิดรุ่งเรือง           เป็นประเทืองคิดใหม่,เทคโนโลยี           ตัวแบบวุฒิภาวะของซอฟแวร์        

วัฒนธรรมองค์การ 3 ระดับ โดยเอ็ดการ์ ไชน์ (Schein)

        วัฒนธรรมล้อมรอบในตัวเรา      ที่แนบเนาว์ลึกซึ้งสนิทแน่น ทั้งแพร่หลายซับซ้อนในแบบแผน       ในตามแก่นทัศนะเอ็ดการ์ไชน์ ไม่อาจเข้าใจเรียนรู้ในองค์การ           รวมทั้งงานพัฒนาที่ยิ่งใหญ่ และเปลี่ยนแปลงตามแผนที่วางไว้      มุ่งภายในประเด็นไม่มาคิด          ว่าวัฒนธรรมเปรียบดังเฉกเช่น  แหล่งที่เป็นพื้นฐานในที่มา ของการต่อต้านการเปลี่ยนแปลงหนา  พิจารณาว่าสำคัญที่ควรมอง ยิ่งผู้บริหารนั้นไร้สำนึก                    ควรตรองตรึกการแพร่หลายของทั้งผอง เพื่อจัดการวัฒนธรรมมุ่งหมายปอง     สนใจมองว่าสำคัญต่อทุกคน          สิ่งสำคัญสามประการความคิดของ ตามครรลองทัศนะเอ็ดการ์ไชน์ หนึ่ง สิ่งผิวเผิน (artifact) บังเกิดฉาบทาไว้   สิ่งนันไซร้ได้แก่เครื่องแต่งกาย เป็นสิ่งเห็นมองง่ายเมื่อเล็งเห็น         แต่สิ่งเป็นยากเข้าใจอย่างง่ายดาย สอง ค่านิยมที่กระตุ้นและปลุกเร้า (espoused value) ที่คลุกเคล้ากลยุทธ์และเป้าหมาย           รวมทั้งปรัชญาผสมอย่างแยบคาย ที่กลับกลายเป็นประเด็นการจัดการ สาม สมมติฐานค่านิยมเป็นพื้นฐาน        คือสะพานแก่นแกน,สาระดี ในวัฒนธรรมอยู่ภายใต้ในก้นบึ้ง

โอกาสการจ้างงานที่เท่าเทียมกันและการสร้างความเป็นธรรม (EEO and Affirmative Action) บทที่ 3

กฎหมายที่มีผลกระทบต่อการโอกาสการจ้างงานที่เท่าเทียม       ก. พระราชบัญญัติสิทธิพลเมือง (1896)       ข. มาตรา 7 ของพระราชบัญญัติสิทธิพลเมืองแก้ไขเพิ่มเติม(1964)       ค. พระราชบัญญัติการไม่แบ่งแยกอายุในการจ้างงานแก้ไขเพิ่มเติมในปี ค.ศ.1978 และ 1986       ง. พระราชบัญญัติการฟื้นฟูสมรรถภาพ (1973)       จ. พระราชบัญญัติการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับการตั้งครรภ์ (1978)       ฉ. พระราชบัญญํติการควบคุมดูแลผู้อพยพ       ช. พระราชบัญญัติคนด้อยสมรรถภาพชาวอเมริกัน (ADA) (1990)       ฌ. พระราชบัญญัติสิทธิพลเมือง (1991)       ญ. กฎหมายรัฐและท้องถิ่น (1978,1986,2000)       ฎ. คำสั่งผู้บริหารระดับสูง EO 11246  -Affirmative Action       ฐ. คำวินิจฉัยศาลสูงอเมริกัน       ฑ. คณะกรรมาธิการเกี่ยวกับการจ้างงานที่เท่าเทียมกัน โปรแกรมการจ้างงานที่เป็นธรรม (Affirmative Action Programs)             

สิ่งแวดล้อมของการจัดการทรัพยากรมนุษย์ (2)

พลวัตรของการจัดการทรัพยากรมนุษย์ (Dynamic HRM)        สิ่งแวดล้อมภายนอก         ก. กำลังแรงงาน (Labor Force)         ข. การพิจารณาในแง่กฎหมาย (Legal Consideration)         ค. สมาคม (Society)หรือสังคม เกี่ยวกับความรับผิดชอบต่อสังคม         ง. สหภาพ (Labor Union)         จ. หุ้นส่วน (Share Holder)         ฉ. การแข่งขัน (Competition)         ช. ลูกค้า (Customer)         ซ. เทคโนโลยี (Technology)         ฌ. ระบบเศรษฐกิจ (Economy) ปัจจัยสิ่งแวดล้อมภายนอก : เชิงรุกหรือตั้งรับ (Proactive or Reactive)         สิ่งแวดล้อมภายใน ได้แก่         ก. ภารกิจ (Mission)         ข. นโยบาย (Policies)         ค. วัฒนธรรมองค์การ         ง. ลีลาการจัดการของผู้จัดการระดับสูง         จ. บุคลากร (Employee)         ฉ. องค์การที่ไม่เป็นทางการ         ช. หน่วยงานอื่น ๆ ขององค์การ         ซ. ข้อตกลงในการจัดการแรงงาน การจัดการกำลังแรงงานที่หลากหลาย         ก. แม่ทำงาน         ข. สตรีในธุรกิจ         ค. ครอบครัวเดียวแต่สองอาชีพ         ง. พนักงานที่มีผิวพันธ์ต่างกัน         จ. พนักงานอาวุโ

power point on human resource management ตอนที่หนึ่ง

รูปภาพ
              การบริหารทรัพยากรมนุษย์ ( HRM ) • ความหมาย : คือการใช้ประโยชน์จากบุคลากรเพื่อบรรลุถึงวัตถุประสงค์ขององค์การ  โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งในทุกองค์การผู้บริหารทุกระดับล้วนเกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรมนุษย์ • ขอบเขตหน้าที่การงาน 6 ด้าน ( six functional area ) • 1. human resource planning,recruitment and selection • 2. human resource development • 3. compensation and benefit • 4. safety and health • 5 . employee and labor relation • 6. human resource research -การจัดการทรัพยากรมนุษย์คือสิ่งที่ปฏิบัติได้ในโลกที่แท้จริง? -ทิศทางแนวโน้มการปรับโครงสร้าง: ใครคือบุคคลที่ปฏิบัติงานด้านการจัดการทรัพยากรมนุษย์? -ศูนย์บริการแบ่งปัน (Shared Service Center) เป็นกิจกรรมแลกเปลี่ยนข่าวสาร มีการรวมรวม ข้อมูลข่าวสารทั้งหมดมาไว้ในที่เดียว  -บริษัทจ้างเหมางาน (Outsourcing Firm) บริษัทลดปัญหาในการรับผิดชอบโดยการจ้างเหมา งานบริการมาทำแทน เพื่อลดความเครียด,เวลา,ความยุ่งยากของงานลงฯลฯ        ก.ช่วยลดต้นทุน        ข.ลดพลังงานในการแก้ปัญหาเชิงกลยุทธ์มากขึ้น       

การทำงานอย่างฉลาด (Working Smart)

             การประสบสำเร็จในตัวงาน      มิใช่การทำงานหนักเหนื่อยแค่ใหน อยู่ที่การทำงานชาญฉลาดไซร้              ทำตัวให้ยุ่งอยู่ตลอดเวลา เสมือนมดที่วิ่งวุ่น ๆอยู่ทุกวัน                 แต่รู้ทันธุระยุ่งเหยิงหนา กลเม็ดความสำเร็จที่ก้าวหน้า                มีอยู่ห้าวิธีที่ทำกัน             หนึ่งทำสิ่งเร่งด่วนหรือเสียงดังกว่า  หมายความว่าเรามักพบคำร้องขอ เป็นเรื่องด่วนแท้จริงไม่ควรรอ                เลิกคุยจ้อขอตัวเพื่อสร้างสรรค์ สองต้องทำสิ่งยากท้าทายก่อน              งานที่จรมีคุณค่ามากกว่ากัน หากงานง่ายคุ้มค่าเมื่อยืนยัน                 เวลานั้นใช้น้อยก็ควรทำ              สามทำสิ่งที่ค้างคาไม่ผ่อนผัน  เพื่อประกันว่างานสำเร็จผล แต่ลำดับความสำคัญกระจ่างจน             จงผ่อนปรนทำตามลำดับไป หากไม่สำคัญก็จัดลำดับท้าย                 งานท้าทายเริ่มก่อนกว่างานใหน งานสำคัญเร่งด่วนต้องทำไว                 องค์การได้ผลงานทีต้องการ              สี่ทำสิ่งใช้สมองกว่าสิ่งใด       สมควรได้ผลลัพธ์สนับสนุน หากงานง่ายทำไปไม่ได้คุณ                  ไม่เจือจุนเป้าหมายหลักที่สำคัญ เพราะทำไปเสี

ทักษะการใช้ความคิดในเชิงลึก (Deep thinking skill)

ทักษะการคิดลึก           สิ่งต่อไปนี้เป็นรายการของชนิดของ "คิดลึก" ที่คุณสามารถทำได้ด้วยตัวอย่างของคำถามที่จะต้องพิจารณาว่าเป็นการส่งเสริม และสะท้อนให้เห็นถึงชนิดที่แตกต่างกันเหล่านี้ของทักษะการคิด คุณอาจพิจารณากําหนดและที่อยู่บางส่วนของคำถามเหล่านี้ในบริบทของ journaling หรือการอภิปรายชั้นเรียนของคุณ ไม่เพียงเลือกคำถามใด ๆ ที่สุ่ม เลือกผู้ที่ให้ความรู้สึกในบริบทของวัสดุที่คุณกำลังพิจารณา คำถามที่ได้ระบุไว้ด้านล่างนี้เป็นเพียงข้อเสนอแนะ คุณควรที่จะปรับเปลี่ยนพวกเขาหรือแม้กระทั่งการเขียนของตัวเองที่จะพอดีภายในใด ๆ ของหมวดหมู่ที่ระบุของคุณ         เมื่อเขียนคำถามสำหรับการสะท้อนให้ใช้แนวทางต่อไปนี้:      ถามคำถามที่ไม่มีคำตอบที่ถูกหรือผิด     ถามคำถามที่ขึ้นต้นด้วย "หารือ", "ตรวจสอบ" "อธิบาย", "อธิบาย" หรือ "เปรียบเทียบ"     ถามคำถามที่ติดตาม     ถามคำถามที่มีคำตอบที่เป็นไปได้หลาย     ไม่ต้องถามแคบคำถามที่มุ่งเน้น - ให้คำถามของคุณที่เปิดกว้าง      ไม่ ต้องถามคำถามที่มีความเป็นจริงสำหรับคำตอบ - คำถามคิดลึกหามุมมองก