บทความ

ความคิดเชิงธุรกิจกับการออกแบบความคิด ตอนที่สาม

คำถามในการวิจัย         แนวทางการศึกษาหลักวิชาการข้ามศาสตร์ในรูปแบบของนักศึกษาการออกแบบ และธุรกิจ สิ่งที่เหมือนกันในเรื่องทัศนคติ,การรับรู้, และการเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลสำหรับนักศึกษาด้านธุรกิจที่มีผลสะท้อนต่อการคิดในเชิงออกแบบใช่ใหม?         แนวทางการประยุกต์ใช้ข้ามสาขาวิชาการ ในรูปแบบของการสังเคราะห์ธุรกิจและการออกแบบ,ที่คล้ายคลึงกับความสำเร็จในโลกที่แท้จริง (ในกรณีนี้, นิยามว่าเป็นสิ่งสอดคล้อง, ยืดหยุ่น และใช้่ความคิด และผลิตภัณฑ์ที่เป็นประโยชน์) ใช่ใหม? วิธีการ ประชากร           ประชากรสำหรับการศึกษาครั้งนี้ประกอบด้วยนักศึกษาเอ็มบีเอ, การพัฒนาองค์การ และโปรแกรมการตลาดที่จบจากสถาบันธุรกิจ และนักศึกษาจากการออกแบบสิ่งแวดล้อม และโปรแกรมกราฟฟิคดีไซน์ในวิทยาลัยออกแบบศิลปะ   นักศึกษาธุรกิจใด ๆ สามารถประยุกต์หลักสูตรนี้ได้  เพียงแต่โปรแกรมเหล่านั้นมีเพียงสองภาคการศึกษาในการจบการศึกษา   จากประวัติของผลงานทางวิชาการ และบุคคลที่เรียกร้องให้มีความยืดหยุ่นและยอมรับความสับสน (คุณลักษณะสองประการหลังนี้ใช้ประเมินในการสัมภาษณ์ ได้รับการยอมรับ กรรมวิธีดำเนินงาน (Procedure)  

การผสมผสานหลักสูตรธุรกิจกับการออกแบบความคิด ตอนที่สอง

           ในการสัมภาษณที่ริเริ่มโดยนายเดวิด ดูนน์ (2006), โรเจอร์ มาร์ติต นักวิชาการชั้นนำเกี่ยวกับการออกแบบความคิด  โดยเฉพาะอย่างยิ่งการศึกษาธุรกิจจะมีการเตรียมการผู้เรียนเพื่อเป็นไปตามความต้องการของธุรกิจยุคปัจจุบันทีดีขึ้นกว่าเดิม   ในความหมายทั่วไปการออกแบบความคิดหมายถึงการเข้าถึงปัญหาทางการจัดการดังเช่นนักออกแบบที่เกี่ยวกับปัญหาการออกแบบแนวคิดเชิงศิลปะ ในแต่ละแนวคิดดูนน์ให้ข้อสรุป (โดยขึ้นอยู่กับการสัมภาษณ์กับมารติน,2006) ได้แก่องค์ประกอบการรับรู้,ทัศนคติ,และความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลที่ดำเนินการเกี่ยวข้องกับการศึกษาและการปฏิบัติงานทางด้านธุรกิจที่เป็นแบบดั้งเดิม   แต่นั้่นคือคุณลักษณะของบุคคลทางด้านการออกแบบและธุรกิจที่ประสบความสำเร็จมากที่สุด             ตั้งแต่ 10 ปีที่ผ่านมา เฮอร์เบอร์ต ไซมอน (1966) เรียกว่าการกำเนิดขององค์ความรู้ที่เข้มงวดเกี่ยวกับกระบวนการออกแบบที่เป็นปัจจัยสำคัญของแนวทางเข้าถึงปัญหาในทางการจัดการ  การอภิปรายได้ดำเนินการต่อเนื้องตั้งแต่นั้นมา ได้แก่ผลงานของแอดเล่อร์,2006 และคณะ   นักวิชาการหลายคนที่กล่าวมาให้ความเห็นแบบเส้นคู่ขนานระหว่างการออกแบบและธุรกิจท

การออกแบบความคิดหลักสุตรทางธุรกิจเพื่อความได้เปรียบเชิงแข่งขัน ตอนที่หนึ่ง

รูปภาพ
เรียบเรียงจากผู้เขียนบทความในวารสารแซมแอ็ดแวนซ์แมนเนจเม้นท์เจอร์นัล           สถาบันทางธุรกิจในปัจจุบันนี้ต้องเตรียมผู้นำ และผู้บริหารธุรกิจในอนาคตโดยนำเสนอประเด็นปัญหาอันซับซ้อนที่มักขาดการแก้ปัญหาอย่างเฉพาะเจาะจง, ต้องได้รับความร่วมมืออย่างกว้างขวาง และมีนัยสำคัญทางสังคมที่ค่อนข้างยุ่งยาก    ดังนั้นโปรแกรมการศึกษาธุรกิจมุ่งแสวงหาโอกาสในการตอบสนองประสบการณ์การเรียนรู้ที่มีลักษณะคล้ายคลึงกันในการช่วยให้มีกล่องเครื่องมือทางธุรกิจของผู้เรียนและเผชิญกับเฉือดเฉือนในการแข่งขันทางการตลาด  ภายในบริบทนี้  นักการศึกษาธุรกิจได้เริ่มต้นสำรวจสมมติฐานล่วงหน้าว่าการศึกษาธุรกิจจะต้องผสมกับการออกแบบความคิด (ในรูปแบบการเรียนรู้โดยการลงมือทำได้อย่างมีประสิทธิผลด้วยการกระทำกับผลสะท้อน)   อาจตอบสนององค์ประกอบเชิงนวัตกรรมในกล่องเครื่องมือธุรกิจที่กำหนดตำแหน่งผู้เรียนมีความคิดสร้างสรรค์และเผยแพร่สิ่งซับซ้อน,สิ่งที่เป็นของหวงห้าม, และความต้องการองค์การและสังคมอย่างเข้มข้น            ผู้ที่จบการศึกษาจากสถาบันทางธุรกิจมักถูกว่าจ้างให้ไปทำหน้าที่ในการทำงานระดับสูง, เป็นทีมที่ใช้ความรู้สหวิทยาการประกอบด้

สภาพจิตใจของนักเผด็จการ ผลงานวัจัยชาวต่างประเทศ

เรียบเรียงจากนักคิดชื่อ เจมส์ ฟอลเลน อาจารย์ประจำมหาวิทยาลัยคาลิฟอร์เนีย ณ.สถาบันการแพทย์เออร์วิน         เป็นเวลากว่า 18 ปีที่ศาสตราจารย์เจมส์ ฟอลเลน ทำการศึกษาเกี่ยวกับการทำงานของสมอง,จิตวิทยา,และพันธุกรรมคนไข้ทางจิต และได้ทำการสแกนสมองของนักสังเวยมนุษย์ที่เป็นโรคจิตเมื่อสองสามเดือนที่ ผ่านมา เขาได้รับเชิญจากองค์กรสิทธิมนุษยชนที่ไม่มุ่งหวังกำไรเพื่อส่งเสริมการนำเสนอจิตใจแบบเผด็จการ  โดยเฉพาะอย่างยิ่งการหยิบยกประเด็นที่ชี้ให้เห็นชัดเจนในการลุกฮือต่อต้านเผด็จการในตะวันออกกลาง และในอัฟริกาเหนือ  ภายหลังจากได้รวบรวมเอาวรรณกรรมของเผด็จการที่เลวร้ายที่สุดในโลกและผสมผสาน กับการวิจัยเกี่ยวกับประสาทวิทยาและคนไข้โรคจิตอื่ีน ๆ  เขาได้แสดงทฤษฎีลงในวารสาร Oslo Freedom Forum ในเดือนพฤษภาคม ซึ่งเป็นการประชุมประจำปีโดยมูลนิธิสิทธิมนุษยชน  ซึ่งจากบทความของเขาจากการบรรยายได้ล้วงลึกเข้าไปในจิตใจของผู้แสดงตนที่หลงผิดและคิดว่าเป็นผู้ทรงอำนาจที่ยิ่งใหญ่ในโลก         ดังนั้นอะไรคือสิ่งที่เชื่อมโยงนักเผด็จการในประวัติศาสตร์ และภูมิศาสตร์?   มีบุคลิกลักษณะอะไรที่พวกเขาแสดงให้เห็น?   เริ่มต้

การศึกษาจิตใจนักเผด็จการ ตอนที่หนึ่ง

เรียบเรียงจากนักคิดชื่อ เจมส์ ฟอลเลน อาจารย์ประจำมหาวิทยาลัยคาลิฟอร์เนีย ณ.สถาบันการแพทย์เออร์วิน           เป็นเวลากว่า 18 ปีที่ศาสตราจารย์เจมส์ ฟอลเลน ทำการศึกษาเกี่ยวกับการทำงานของสมอง,จิตวิทยา,และพันธุกรรมคนไข้ทางจิต และได้ทำการสแกนสมองของนักสังเวยมนุษย์ที่เป็นโรคจิตเมื่อสองสามเดือนที่ผ่านมา เขาได้รับเชิญจากองค์กรสิทธิมนุษยชนที่ไม่มุ่งหวังกำไรเพื่อส่งเสริมการนำเสนอจิตใจแบบเผด็จการ  โดยเฉพาะอย่างยิ่งการหยิบยกประเด็นที่ชี้ให้เห็นชัดเจนในการลุกฮือต่อต้านเผด็จการในตะวันออกกลาง และในอัฟริกาเหนือ  ภายหลังจากได้รวบรวมเอาวรรณกรรมของเผด็จการที่เลวร้ายที่สุดในโลกและผสมผสานกับการวิจัยเกี่ยวกับประสาทวิทยาและคนไข้โรคจิตอื่ีน ๆ  เขาได้แสดงทฤษฎีลงในวารสาร Oslo Freedom Forum ในเดือนพฤษภาคม ซึ่งเป็นการประชุมประจำปีโดยมูลนิธิสิทธิมนุษยชน  ซึ่งจากบทความของเขาจากการบรรยายได้ล้วงลึกเข้าไปในจิตใจของผู้แสดงตนที่หลงผิดและคิดว่าเป็นผู้ทรงอำนาจที่ยิ่งใหญ่ในโลก            ดังนั้นอะไรคือสิ่งที่เชื่อมโยงนักเผด็จการในประวัติศาสตร์ และภูมิศาสตร์?   มีบุคคลิกลักษณะอะไรที่พวกเขาแสดงให้เห็น?      เริ่มต้นเรามาท

ตัวแบบจำลองวุฒิภาวะความสามารถ ตอนที่สอง

              โครงสร้างวุฒิภาวะความสามารถ    แบบอย่างอาจมีหลายองค์ประกอบ      หนึ่ง ระดับวุฒิภาวะมีเขตขอบ                  ความคิดกรอบหลายชั้นก่อก้าวหน้า      หลักวิชาจำเป็นบรรลุเพื่อเป้าหมาย           สิ่งท้าทายการปรับปรุงต่อเนื่องมา      สิ่งสำคัญระบุได้ตามเวลา                      พัฒนาความสามารถการประเมิน                มุ่งมองผลกระทบการกระทำมา     สิ่งล้ำหน้าเทคโนโลยีที่รุดหน้า      และเครื่องมือในกิจกรรมที่อ้างว่า             เป็นเนื้อหามิใช่การพัฒนา      แต่เป็นสาระพิจารณาสิ่งสร้างสรรค์           ปัจจัยนั้นมีอิทธิพลที่หมายตา      ต่อการปฏิบัติงานเกิดขึ้นมา                   โดยมุ่งหน้ามอบอำนาจแก่บุคคล                ในโครงการ,ทีมงาน,องค์การหนา  เพื่อนำพาบุคคลรับผิดชอบ      สอง ขอบเขตขั้นตอนความคลุมครอบ       หมายถึงกรอบกิจกรรมเป็นกลุ่มก้อน      เมื่อต้องหลอมรวบรวมเป็นผลงาน           บรรลุการนำชุดเป้าหมายที่สำคัญ      สาม เป้าหมายกระบวนการสรุปกัน            ต้องไฝ่ฝันนำไปใช้อย่างได้ผล                ในขอบเขตเป้าหมายบรรลุฝัน       ตัวชี้นั้นว่าสามารถมากเท่าใด      เ

ตัวแบบจำลองวุฒิภาวะความสามารถ (Capabillity Maturity Model) ตอนที่หนึ่ง

             แบบอย่างวุฒิภาวะความสามารถ    ความฉลาดตามวิวัฒนาการ      มีห้าขั้นตอนตามลำดับจากพื้นฐาน          ความคิดอ่านตามกระบวนขององค์กร      ก่อกำเนิดปรับปรุงเพื่อพัฒนา                  ซอฟท์แวร์หนาควรนำมาพร่ำวอน      เพื่อประยุกต์นำใช้ในขั้นตอน                  ระดับก่อนต่อไปจนขั้นสูง             หนึ่งต้องมีขั้นเบื้องแรก (initial) ไม่ยอกย้อน ในองค์กรกระบวนการแบบชั่วคราว        รวมทั้งความสับสนในเรื่องราว             หากสืบสาวคำนิยามไม่กี่ความ        สองสามารถทำซ้ำได้ (repeatable )ในพื้นฐาน  กระบวนการที่กำหนดการทำตาม        สามให้ความหมาย (defined) ขั้นตอนทุกนิยาม  รวบรวมตามเอกสาร,มาตรฐาน             สี่จัดการ(managed)ขั้นตอนไม่ผลีผลาม  สืบสาวตามข้อมูลรายละเอียด        ทั้งขั้นตอน,คุณภาพเต็มกระเบียด   ห้าเคร่งเครียดปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง (continuos improvement)        โดยปรับปรุงทบทวนข้อมูลกลับ             เพื่อมุ่งปรับเชิงปริมาณอย่างรุ่งเรือง         จากแนวคิดแบบใหม่ที่กระเดื่อง            โดยประเทืองเทคโนโลยี่มีคุณค่า             แบบอย่างความพร้อมในทุกเรื่อง       ล้