บทความ

การออกแบบความคิดเพื่อการปรับปรุงผลงานสู่ความเป็นเลิศ

          เพื่อที่จะตอบสนองต่อเป้าหมายที่ละมุนละม่อมของการบริโภคพลังงานฐานศูนย์ และส่งเสริมการสร้างผลงานที่เป็นเลิศ   ผู้นำอุตสาหกรรมจำเป็นต้องคิดใหม่ (rethink) ในวิถีทางที่พวกเขาคิดขึ้นมาและสร้างโครงสร้างและสิ่งแวดล้อม   จากการเพิ่มการแข่งขันระดับนานาชาติและห่วงโซ่อุปทาน  อุตสาหกรรมการก่อสร้างกำลังเผชิญแนวโน้มในอนาคตที่ว่าอุตสาหกรรมผลิต ของอเมริกาที่จะเผชิญในปลายปี ค.ศ.1970 และ 1980   เพื่อตอบสนองสิ่งท้าทายในการแข่งขันเหล่านั้น ผู้ผลิตรถยนต์,คอมพิวเตอร์,และสินค้าอุปโภคบริโภคได้ปรับปรุงวิธีการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ใหม่และดีขึ้นกว่าเดิม   วิธีการต่าง ๆเหล่านี้ได้สร้างความประทับใจในสิ่งคิดค้นบริษัทเพื่อการแข่งขัน, การออกแบบ,การสร้างและส่งมองผลิตภัณฑ์คุณภาพอย่างสูงบ            เอกสารนี้จะเผยแพร่วิธีการบริษัทที่ดีที่สุดในโลกของกระบวนการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ได้แก่ลูกค้าในผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าผลิตภัณฑ์ที่ส่งมอบเป็นสิ่งที่ลูกค้าต้องการและมี ความจำเป็น   เราได้หยิบยกตัวอย่างถึงวิธีการที่นักพัฒนาของการสร้างผลงานที่ดีที่สุดที่ กำลังทำอยู่นี้  และแบ่งปันการหยั่งรู้ในว
โดย นายโรเจอร์ มาร์ติน           จากหนังสือของโรเจอร์ มาร์ตินได้แสดงทัศนะสองประการในปัจจุบันนี้  เขาเป็นคณบดีของมหาวิทยาลัยสถาบันการจัดการรอทแมนในเมืองโตรอนโต และเป็นศาสตราจารย์สาขาการจัดการเชิงกลยุทธ์ในมหาวิทยาลัยแห่งนี้   ทัศนะความคิดประการหนึ่งที่มองเห็นความคิดเชิงวิเคราะห์และการวิเคราะห์เชิง ปริมาณเช่นเดียวกันกับพื้นฐานของการสร้างคุณค่า (Value creation)  นอกจากนี้ยังมีทัศนะอื่น ๆในเรื่องความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่เป็นแนวคิดพื้นฐาน   ไม่มีความคิดใด ๆทั้งหลายที่จะทำได้เพียงลำพัง  ดังคำกล่าวขน  องมาร์ติน   ยิ่งกว่าธุรกิจที่ประสบความสำเร๋็จมากที่สุดในหลายปีที่จะเกิดขึ้นอันจะ สร้างความสมดุลย์แบบฉบับความคิดเชิงวิเคราะห์ และแนวคิดดั้งเดิมที่เป็นแรงดลใจในการมษอิทธิพลซึ่งกันและกันเชิงพลวัตรที่ ผู้เขียนเรียกว่า "การออกแบบความคิด"   มาร์ตินได้พรรณนาว่ารูปแบบควาาคิดนี้มีรากฐานมาจากว่าความรู้นั้นมความก้าว หน้าจากขั้นแรกไปสู่อีกขั้นหนึ่งได้อย่างไร? ซึ่งจากต้นแบบ (mystery) ซึ่งบางอย่างเราไม่สามารถอธิบายได้นำไปสู่องค์รวม (หรือเรียกว่ากฎของหัวแม่มือ (a rule of th
          ข้อคิดการออกแบบกิจกรรมเรียนรู้ตอบสนอง                 (Interactive Learning Activities?)   เขียนโดย: ดร.รานี เคอร์ บาเนอรจี (ตีพิมพ์ในวันที่ 13 มกราคม 2554)   กิจกรรมการเรียนรู้แบบตอบสนองคืออะไร?          หากคุณเป็นครู การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้แบบตอบสนองจะนำไปสู่ความยุติธรรมบ้างของเวลาที่จำกัดและใช้ความพยายามบางอย่าง  แต่รางวัลที่คุณจะได้จะมีคุณค่าในชั่วขณะเป็นอย่างดี             กิจกรรมการเรียนรู้แบบตอบสนองคือการนำเอาการศึกษาที่ออกแบบให้มีคู่มือสำหรับแจกนักศึกษา  ความรู้โดยตรงของเนื้อหาและวัตถุดิบที่พวกเขาได้ถ่ายทอดในหลักสูตรของเนื้อหาโดยทั่วไป    การเรียนรู้แบบตอบสนองยังเรียกว่าการเรียนรู้ในเชิงประสบการณ์  โดยผ่านการศึกษาผู้ใหญ่ในเชิงตอบสนอง   นักศึกษากลับเข้ามาเกี่่ยวข้องในการถ่ายทอดกระบวนการแทนที่การรับข้อมูลข่าวสารในเชิงเฉื่อยชาในลักษณะวิธีการบรรยายแบบเก่าโบราณ    เหตุผลสำหรับการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ในเชิงตอบสนอง          เพราะเหตุใดที่จำเป็นสำหรับคุณที่รวมถึงการเรียนรู้แบบตอบสนองในการศึกษาผู้ใหญ่?  เรามักจะรู้แต่วิชาคณิตศาสตร์แล

กรอบแนวคิดในการออกแบบความคิดสำหรับการจัดการความรู้

1. คำนำ          การออกแบบความคิดคือองค์ความรู้ที่เข้มงวดเกี่ยวกับกระบวนการออกแบบในฐานะที่เป็นปัจจัยเกี่ยวกับการนำเสนอแนวทางปัญหาการจัดการ (Simon, 1996)   ภายใต้กรอบเค้าโครงความคิดในการออกแบบ  ผู้เรียนควรจะได้รับการส่งเสริมให้คิดปัญหาได้อย่างกว้างขวาง, มีการพัฒนาให้เกิดความเข้าใจในประเด็นปัญหาอย่างลึกซึ้ง และวางแผนกระบวนการนำเอาความคิดที่ดีไปใช้   แนวคิดของการออกแบบความคิดสามารถนำมาเผยแพร่วิพากย์วิจารณ์ได้อย่างมากมายในปัจจุบันนี้เพื่อจัดวางตำแหน่งระดับของแผนธุรกิจ (Dunne and Martin,2006)          การออกแบบความคิดคือสิ่งที่แตกจากความคิดในเชิงวิพากย์ในสิ่งที่การออกแบบความคิดเน้นกระบวนการ(process-oriented)ในขณะที่ความคิดเชิงวิพากย์เน้นการใช้ดุลยพินิจ (judgment-oriented)  การศึกษากรณีตัวอย่างในการศึกษาธุรกิจย้ำเน้นเกี่ยวกับความคิดเชิงวิพากย์อย่างมาก แต่มีความคิดในเชิงออกแบบค่อนข้างน้อน   การออกแบบความคิดเป็นผลที่เกิดขึ้นมาจากธรรมชาติของการออกแบบงาน: กระแสไหลของงานที่ขึ้นอยู่กับโครงการที่เป็นปัญหา (Dunne and Martin, 2006)          2. แนวทางการออกแบบความคิดไป

การออกแบบความคิดธุรกิจ ทำอย่างไรการออกแบบความคิดจึงเป็นความได้เปรียบเชิงแข่งขันในอนาคต

โดย นายโรเจอร์ มาร์ติน           จากหนังสือของโรเจอร์ มาร์ตินได้แสดงทัศนะสองประการในปัจจุบันนี้  เขาเป็นคณบดีของมหาวิทยาลัยสถาบันการจัดการรอทแมนในเมืองโตรอนโต และเป็นศาสตราจารย์สาขาการจัดการเชิงกลยุทธ์ในมหาวิทยาลัยแห่งนี้   ทัศนะความคิดประการหนึ่งที่มองเห็นความคิดเชิงวิเคราะห์และการวิเคราะห์เชิงปริมาณเช่นเดียวกันกับพื้นฐานของการสร้างคุณค่า (Value creation)  นอกจากนี้ยังมีทัศนะอื่น ๆในเรื่องความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่เป็นแนวคิดพื้นฐาน   ไม่มีความคิดใด ๆทั้งหลายที่จะทำได้เพียงลำพัง  ดังคำกล่าวขน  องมาร์ติน   ยิ่งกว่าธุรกิจที่ประสบความสำเร๋็จมากที่สุดในหลายปีที่จะเกิดขึ้นอันจะสร้างความสมดุลย์แบบฉบับความคิดเชิงวิเคราะห์ และแนวคิดดั้งเดิมที่เป็นแรงดลใจในการมษอิทธิพลซึ่งกันและกันเชิงพลวัตรที่ผู้เขียนเรียกว่า "การออกแบบความคิด"   มาร์ตินได้พรรณนาว่ารูปแบบควาาคิดนี้มีรากฐานมาจากว่าความรู้นั้นมความก้าวหน้าจากขั้นแรกไปสู่อีกขั้นหนึ่งได้อย่างไร? ซึ่งจากต้นแบบ (mystery) ซึ่งบางอย่างเราไม่สามารถอธิบายได้นำไปสู่องค์รวม (หรือเรียกว่ากฎของหัวแม่มือ (a rule of thumb)  ไปสู่ที่

ตัวแบบงบประมาณผูกพัน (Beyond Budgeting) ตอนที่หนึ่ง

           ตัวแบบงบประมาณแบบผูกพัน   ที่ทำกันในบริษัทเป็นส่วนใหญ่      ควรจัดงบประมาณส่วนเกินไว้          เมื่อมองไปดูเหมือนจะรุนแรง      เพียงแต่เป็นก้าวแรกรณรงค์             เพื่อมุ่งตรงองค์กรการเปลี่ยนแปลง      จากสายลดหลั่นรวมศูนย์อย่างชัดแจ้ง เครือข่ายแจงตกทอดทั่วถึงกัน            องค์กรต้องลงทุนไม่เคลือบแคลง เพื่อเสริมแรงเติมแต่งคุณภาพ      ในเครือข่ายเทคโนโลยีอย่างซึมซาบ  รวมทั้งทราบกระบวนการยกเครื่อง      และเครื่องมือการจัดการอีวีเอ           สิ่งทุมเทการจัดการเชิงสมดุลย์      และรายการบัญชีสนับสนุน               เรื่องไม่คุ้นความคิดในแนวใหม่            อันเนื่องจากงบประมาณที่อุดหนุน สิ่งเคยคุ้นวัฒนธรรมในแบบเก่า     การควบคุม,สั่งการเหมือนดั่งเงา         ที่ยังเฝ้าหลอกหลอนจิตวิญญาณ     การจัดงบประมาณในส่วนเกิน            ทางเลือกเดินปรับตัวและต้านทาน     เคยวิพากย์แบบเก่างบประมาณ           เพื่อจัดการกำหนดหลักการกัน            เพื่อนำทางผู้นำบริหาร              มุ่งทำการจัดการรูปแบบใหม่    นั่นคือการจัดการพึ่งพิงไซร้                ไม่เอียงไปเพราะมีต้นใหญ่ค้ำ   

พื้นฐานของอำนาจทางสังคม (Social Power)

              แหล่งที่มาของอำนาจทางสังคม   ที่เพาะบ่มความคิดทฤษฎี     โดยเฟรนช์และลาเวนที่เรียกขาน             โดยพื้นฐานห้าประการที่กล่าวกัน     หนึ่งอำนาจรางวัล (reward power) เพื่อจูงใจ รูปแบบในความสำคัญเชิงบวกนั้น     เพื่อขจัดแนวคิดเชิงลบพลัน                   เพื่อสร้างสรรค์ความรู้สึกในทางดี               สองอำนาจเชิงบังคับ (coercive power) เพื่อสำทับลงโทษผู้ดึงดัน    ไม่ทำตามความคิดมุ่งหวังกัน                  รวมสิ่งฝันต้องการขององค์กร    สามอำนาจที่ชอบธรรม (legitimate power) ตามหน้าที่ รูปแบบนี้มีพื้นฐานการผันผ่อน    ในสิทธิอธิบายพฤติกรรมก่อน                  จากเมื่อตอนเลือกตั้งและแต่งตั้ง              ในตำแหน่งรับผิดชอบขอบเขตงาน  บ้างเรียกขานอำนาจปทัสถาน (normative power)    สี่อำนาจอ้างอิง (reference power) พึ่งพิงงาน   โดยมุ่งผ่านการร่วมมือของคนอื่น     มีอำนาจแฝงรับรองมีเครดิต                    เพื่อพิชิตการงานอย่างชื่นมื่น    ห้าอำนาจผู้เชี่ยวชาญ (expert power) รู้ไหลลื่น  มีจุดยืนความสามารถทักษะงาน              และอำนาจของข้อมูลและข่าวสาร (information powe