เทคนิคการปรับปรุงและรวบรวมความคิด 5 ขั้นตอน
ขั้นตอนที่ 1 การทำวัตถุประสงค์ให้กระจ่าง
เนื่องจากบุคลากรที่มีส่วนร่วมมีการรับรู้ที่แตกต่างกันของสิ่งที่กลุ่มกำลังพยายามบรรลุถึงความสำเร็จ พวกเขาอาจมีความเข้าใจร่วมกันเกี่ยวกับ "อะไร" คือสิ่งที่นำมาพูดคุย (เนื้อหา) แต่การรับรู้ที่แตกต่างกันเป็นเรื่องเหตุผลว่า "เพราะเหตุใด (why)" ที่นำเรื่องนี้มาอภิปรายกัน (วัตถุประสงค์) หากมีการอภิปรายนอกประเด็น ก็จะต้องนำความสนใจกับมาสู่วัตถุประสงค์ในเรื่องที่พูดคุยกัน
ขั้นตอนที่ 2 การค้นหาความคิดแบบเงียบ ๆ
นี่คือขั้นตอนที่มีการละเลยมากที่สุด และในประสบการณ์ของข้าพเจ้า ซึ่งเป็นสิ่งที่มีพลังสำคัญมากที่สุด
- จงพิจารณาความแตกต่างระหว่างทิศทางอนาคต สองประการ และสิ่งที่จะตามมา วัตถุประสงค์ของกลุ่มคือการปรับปรุงเกี่ยวกับการจัดการประชุมที่ดี
- ผู้กำกับทีม กล่าวว่า "คุณมีข้อเสนอแนะว่าคุณมีความเชื่อว่าการประชุมของคุณไม่ได้ผลเท่าที่ควรจะเป็นไป คุณเชื่ออะไรว่าควรทำให้การประชุมที่แตกต่างกันที่สำเร็จได้
- ผู้กำกับทีม กล่าวว่า "คุณมีข้อเสนอแนะว่าคุณมึความเชื่อว่าการประชุมของคุณไม่ได้ผลเท่าที่ควรจะเป็นไป โปรดจดบันทึกในเอกสารที่อยู่ต่อหน้าคุณสักสองสามความคิดสำหรับการปรับปรุงการประชุมของคุณ
ในทิศทางแรก
คนเราอาจถามความเคิดของเขาอย่างง่าย ๆ เมื่อสิ่งนี้เกิดึ้น คนไม่กี่คนที่รักการมีส่วนร่วมและคิดออกเสียงอย่างรวดเร็วเริ่มต้นด้วยการพูด คนอื่น ๆ อาจจะไม่มีการสะสมความคิด อาจจะลังเลในการพูดมากกว่า หรืออาจจะไม่ได้ใส่ใจเลย
ตราบเท่าที่บุคคลใดก็ตามพูดถึงกระบวนการซึ่งเริ่มต้นที่ถูกจำกัด เพราะว่า
- ทุกคนได้รับอิทธิพลในระดับความคิดของคนอื่น และ
-บรรทัดฐานคือสิ่งเร่ิมต้นในการพูดคุยเกี่ยวกับความคิดที่แสดงออกมา สิ่งที่ชอบหรือสิ่งที่ไม่ชอบ หรือบางทีวิธีการใดที่ความคิดอาจจะถูกสร้างขึ้นมา แต่บ่อยครั้งจำนวนความคิดริเริ่มสร้างสรรค์มีอยู่อย่างจำกัด
ในทิศทางที่สอง
ผู้กำกับจะถามคนมีส่วนร่วมในทีมจดบันทึกความคิด ซึ่งมีประโยชน์มาก
- หากปราศจากการะบุถึงสิ่งที่ผู้กำกับส่งข้อความที่ทุก ๆ คนคาดหวังที่จะสนับสนุนความคิด
- ทุกคนเข้าถึงกระบวนการได้รวดเร็ว (พวกเขาเริ่มต้นใช้ความคิด)
- สมาชิกทีมผู้ที่มีแนวโน้มเอียงทำงานอิสระอย่างดีที่สุด และอย่างเงียบมีโอกาสที่จะรวบรวมความคิดในลักษณะที่พวกเขาทำงานนั้นได้ดี
- สมาชิกแต่ละคนกำลังลงมือทำความคิดริ่เริ่มสร้างสรรค์
ขั้นตอนนี้ใช้เวลาไม่นาน เพียงสามหรือสี่นาที่ แต่่มีประโยชน์อย่างมหาศาล
ขั้นตอนที่ 3 ล้อมวงในการทบทวนความคิด
หมายถึงการฝึกฝนร่วมกันในการรวมกลุ่มและการเชื้อเชิญแต่ละบุคคล ความคิดที่ถูกบันทึกในบอร์ด, แผ่นฟลิบชาร์ต เป็นต้น
ข้อเสนอแนะ
จงอธิบายก่อนที่คุณจะริเริ่มในขั้นตอนนี้ที่คุณต้องการความคิดเดียวจากแต่ละคนและสิ่งทีคุณจะดำเนินการล้อมวงจนกระทั่งความคิดหลังไหลออกมา
สิ่งนี้จะป้องกันการตอบสนองที่น่าพิจารณา ทั้งแง่บวกและแง่ลบ จากการมีอิทธิพลในการก่อรูปความคิดที่ยังไม่ได้จัดตาราง สิ่งนี้จะป้องกันการค้นหาความคิดจากการเลียบเคียง
หากประเด็นนั้นอ่อนไหวและกลุ่มไม่ได้เพียงพอในการปรับปรุงต่อเป็นการเปิดเผยกับอีกคนหนึ่ง คุณอาจจะปรารถนาที่จะรวบรวมความคิดและแสดงความคิดเห็นด้วยตัวของคุณเอง
ความแตกต่างอีกประการหนึ่งก็คือการมีบุคคลเขียนความคิดเกี่ยวกับแผ่นเอกสารที่มีขนาดใหญ่พอที่่จะยินยอมให้พวกเขาได้อ่านจากระยะห่าง และนำความคิดเสนอออกมา
ขั้นตอนที่ 4 การอภิปรายความคิดแต่ละความคิด
การกำหนดเวลาที่ตกลงสำหรับการพูดคุยขึ้นอยู่กจำนวนความคิดที่นำมาพูดกัน
ขั้นตอนที่ 5 การเห็นด้วยกับความคิดที่มีการจัดลำดับความสำคัญ
ในทัศนะนี้ ผู้เข้าร่วมกำลังเคลื่อนไหวในการวิธีการตัดสินใจ
สนับสนุนความคิดที่ถูกเลือกสรรซึ่งขึ้นอยู่กับระดับความสะดวกสบลายกับกระบวนการตัดสินใจ ดังนั้นมันจะเป็นสิ่งสำคัญในการเอื้ออำนวยเกี่ยวกับวิธีการที่กลุ่มจะจัดลำดับความสำคัญทางความคิดหรือการคัดเลือกความคิดที่ดีที่สุด สิ่งนี้ได้แก่การปรับปรุงรายชื่อเกณฑ์การตัดสินใจซึ่งจะนิยามอย่างชัดเจนในสิ่งที่ตัดสนิใจจะมีพื้นฐาน สำหรับกลุ่มที่ไม่ได้ปฏิบัติงาน การถามคำถามง่าย ๆ ที่สามารถช่วย "อะไรคื่อสิ่งที่กำหนดเกณฑ์ การถามคำถามง่าย ๆ สามารถช่วย "สิ่งที่เป็นความคิดที่ดีที่สุด/ทางแก้ปัญหา/ การตัดสินใจดูเหมือนอะไร?" ตอบสนองมักจะรวดเร็ว ตัวอย่างเช่น "มันคือสิ่งที่มีต้นทุนน้อยที่สุด หรือมันจะติดตามผลได้ง่ายดาย"
ขั้นตอนที่ 6 การทวนซ้ำ (Recap)
การทำซ้ำเพื่อให้มั่นใจถึงความเข้าใจและมีมติเอกฉันท์
ขั้นตอนที่ 7 ความผูกพันในการลงมือทำ
การแยกแยะที่รับผิดชอบในการนำความคิดก้าวไปอีกขั้นหนึ่ง
(เรียบเรียงจาก "Games Team Play :Dynamic Activites for Tapping work teampotential by Leslie Bendaily
เนื่องจากบุคลากรที่มีส่วนร่วมมีการรับรู้ที่แตกต่างกันของสิ่งที่กลุ่มกำลังพยายามบรรลุถึงความสำเร็จ พวกเขาอาจมีความเข้าใจร่วมกันเกี่ยวกับ "อะไร" คือสิ่งที่นำมาพูดคุย (เนื้อหา) แต่การรับรู้ที่แตกต่างกันเป็นเรื่องเหตุผลว่า "เพราะเหตุใด (why)" ที่นำเรื่องนี้มาอภิปรายกัน (วัตถุประสงค์) หากมีการอภิปรายนอกประเด็น ก็จะต้องนำความสนใจกับมาสู่วัตถุประสงค์ในเรื่องที่พูดคุยกัน
ขั้นตอนที่ 2 การค้นหาความคิดแบบเงียบ ๆ
นี่คือขั้นตอนที่มีการละเลยมากที่สุด และในประสบการณ์ของข้าพเจ้า ซึ่งเป็นสิ่งที่มีพลังสำคัญมากที่สุด
- จงพิจารณาความแตกต่างระหว่างทิศทางอนาคต สองประการ และสิ่งที่จะตามมา วัตถุประสงค์ของกลุ่มคือการปรับปรุงเกี่ยวกับการจัดการประชุมที่ดี
- ผู้กำกับทีม กล่าวว่า "คุณมีข้อเสนอแนะว่าคุณมีความเชื่อว่าการประชุมของคุณไม่ได้ผลเท่าที่ควรจะเป็นไป คุณเชื่ออะไรว่าควรทำให้การประชุมที่แตกต่างกันที่สำเร็จได้
- ผู้กำกับทีม กล่าวว่า "คุณมีข้อเสนอแนะว่าคุณมึความเชื่อว่าการประชุมของคุณไม่ได้ผลเท่าที่ควรจะเป็นไป โปรดจดบันทึกในเอกสารที่อยู่ต่อหน้าคุณสักสองสามความคิดสำหรับการปรับปรุงการประชุมของคุณ
ในทิศทางแรก
คนเราอาจถามความเคิดของเขาอย่างง่าย ๆ เมื่อสิ่งนี้เกิดึ้น คนไม่กี่คนที่รักการมีส่วนร่วมและคิดออกเสียงอย่างรวดเร็วเริ่มต้นด้วยการพูด คนอื่น ๆ อาจจะไม่มีการสะสมความคิด อาจจะลังเลในการพูดมากกว่า หรืออาจจะไม่ได้ใส่ใจเลย
ตราบเท่าที่บุคคลใดก็ตามพูดถึงกระบวนการซึ่งเริ่มต้นที่ถูกจำกัด เพราะว่า
- ทุกคนได้รับอิทธิพลในระดับความคิดของคนอื่น และ
-บรรทัดฐานคือสิ่งเร่ิมต้นในการพูดคุยเกี่ยวกับความคิดที่แสดงออกมา สิ่งที่ชอบหรือสิ่งที่ไม่ชอบ หรือบางทีวิธีการใดที่ความคิดอาจจะถูกสร้างขึ้นมา แต่บ่อยครั้งจำนวนความคิดริเริ่มสร้างสรรค์มีอยู่อย่างจำกัด
ในทิศทางที่สอง
ผู้กำกับจะถามคนมีส่วนร่วมในทีมจดบันทึกความคิด ซึ่งมีประโยชน์มาก
- หากปราศจากการะบุถึงสิ่งที่ผู้กำกับส่งข้อความที่ทุก ๆ คนคาดหวังที่จะสนับสนุนความคิด
- ทุกคนเข้าถึงกระบวนการได้รวดเร็ว (พวกเขาเริ่มต้นใช้ความคิด)
- สมาชิกทีมผู้ที่มีแนวโน้มเอียงทำงานอิสระอย่างดีที่สุด และอย่างเงียบมีโอกาสที่จะรวบรวมความคิดในลักษณะที่พวกเขาทำงานนั้นได้ดี
- สมาชิกแต่ละคนกำลังลงมือทำความคิดริ่เริ่มสร้างสรรค์
ขั้นตอนนี้ใช้เวลาไม่นาน เพียงสามหรือสี่นาที่ แต่่มีประโยชน์อย่างมหาศาล
ขั้นตอนที่ 3 ล้อมวงในการทบทวนความคิด
หมายถึงการฝึกฝนร่วมกันในการรวมกลุ่มและการเชื้อเชิญแต่ละบุคคล ความคิดที่ถูกบันทึกในบอร์ด, แผ่นฟลิบชาร์ต เป็นต้น
ข้อเสนอแนะ
จงอธิบายก่อนที่คุณจะริเริ่มในขั้นตอนนี้ที่คุณต้องการความคิดเดียวจากแต่ละคนและสิ่งทีคุณจะดำเนินการล้อมวงจนกระทั่งความคิดหลังไหลออกมา
สิ่งนี้จะป้องกันการตอบสนองที่น่าพิจารณา ทั้งแง่บวกและแง่ลบ จากการมีอิทธิพลในการก่อรูปความคิดที่ยังไม่ได้จัดตาราง สิ่งนี้จะป้องกันการค้นหาความคิดจากการเลียบเคียง
หากประเด็นนั้นอ่อนไหวและกลุ่มไม่ได้เพียงพอในการปรับปรุงต่อเป็นการเปิดเผยกับอีกคนหนึ่ง คุณอาจจะปรารถนาที่จะรวบรวมความคิดและแสดงความคิดเห็นด้วยตัวของคุณเอง
ความแตกต่างอีกประการหนึ่งก็คือการมีบุคคลเขียนความคิดเกี่ยวกับแผ่นเอกสารที่มีขนาดใหญ่พอที่่จะยินยอมให้พวกเขาได้อ่านจากระยะห่าง และนำความคิดเสนอออกมา
ขั้นตอนที่ 4 การอภิปรายความคิดแต่ละความคิด
การกำหนดเวลาที่ตกลงสำหรับการพูดคุยขึ้นอยู่กจำนวนความคิดที่นำมาพูดกัน
ขั้นตอนที่ 5 การเห็นด้วยกับความคิดที่มีการจัดลำดับความสำคัญ
ในทัศนะนี้ ผู้เข้าร่วมกำลังเคลื่อนไหวในการวิธีการตัดสินใจ
สนับสนุนความคิดที่ถูกเลือกสรรซึ่งขึ้นอยู่กับระดับความสะดวกสบลายกับกระบวนการตัดสินใจ ดังนั้นมันจะเป็นสิ่งสำคัญในการเอื้ออำนวยเกี่ยวกับวิธีการที่กลุ่มจะจัดลำดับความสำคัญทางความคิดหรือการคัดเลือกความคิดที่ดีที่สุด สิ่งนี้ได้แก่การปรับปรุงรายชื่อเกณฑ์การตัดสินใจซึ่งจะนิยามอย่างชัดเจนในสิ่งที่ตัดสนิใจจะมีพื้นฐาน สำหรับกลุ่มที่ไม่ได้ปฏิบัติงาน การถามคำถามง่าย ๆ ที่สามารถช่วย "อะไรคื่อสิ่งที่กำหนดเกณฑ์ การถามคำถามง่าย ๆ สามารถช่วย "สิ่งที่เป็นความคิดที่ดีที่สุด/ทางแก้ปัญหา/ การตัดสินใจดูเหมือนอะไร?" ตอบสนองมักจะรวดเร็ว ตัวอย่างเช่น "มันคือสิ่งที่มีต้นทุนน้อยที่สุด หรือมันจะติดตามผลได้ง่ายดาย"
ขั้นตอนที่ 6 การทวนซ้ำ (Recap)
การทำซ้ำเพื่อให้มั่นใจถึงความเข้าใจและมีมติเอกฉันท์
ขั้นตอนที่ 7 ความผูกพันในการลงมือทำ
การแยกแยะที่รับผิดชอบในการนำความคิดก้าวไปอีกขั้นหนึ่ง
(เรียบเรียงจาก "Games Team Play :Dynamic Activites for Tapping work teampotential by Leslie Bendaily
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น