การฝึกอบรมการจัดการความรู้ในระดับอุดมศึกษาให้กับอาจารย์และบุคลากรของวิทยาลัยกรุงเทพสุวรรณภูมิ



Ò การจัดการความรู้ในระดับอุดมศึกษา (knoweledge management in  higher education)  
Ò    ความหมายของการจัดการความรู้ (KM defined
Ò     การจัดการความรู้คือ
Ò     การจัดการความรู้คือกลไกที่ปรับเปลี่ยนความคิดไปสู่คุณค่าทางธุรกิจ การจัดการความรู้คือกระบวนการที่เป็นระบบสำหรับการแสวงหา,การสร้าง,การสังเคราะห์,การแบ่งปันและการใช้ข้อมูล, การหยั่งรู้และประสบการณ์ต่อการบรรลุถึงเป้าหมายในองค์การ
Ò     การจัดการความรู้คือศิลปะในการปรับเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร และทรัพย์สินทางปัญญาไปสู่การสร้างคุณค่าให้กับบุคลากรและองค์การ
Ò    จุดประสงค์ของการจัดการความรู้
Ò    เพื่อรณรงค์ให้มีการใช้ทุนทางปัญญาใหม่ ๆ
Ò    ส่งเสริมให้มีการตัดสินใจที่ดี
Ò    ส่งเสริมให้มีสภาวะของการใช้ความคิดเชิงนวัตกรรม
Ò    จะจัดการความรู้ได้อย่างไร?
Ò     1. แบ่งปัน (share-สิ่งที่รู้,สร้าง,พิสูจน์
Ò     2. ริเริ่มสร้างสรรค์ (innovate)-สร้างสรรค์,ประดิษฐ์,จินตนาการ
Ò     3. นำความรู้มาใช้ใหม่ (reuse- สิ่งที่รู้แล้ว,สร้างแล้ว,พิสูจน์แล้ว
Ò     4. ร่วมมือ (collaborate)ใช้ประโยชน์จากสิ่งที่เขารู้แล้ว
Ò     5. เรียนรู้ (learnเรียนรู้จากการลงมือทำ และข้อมูลที่มีอยู่
Ò    การแบ่งปัน (Share)
Ò     ถามคำถาม และขอร้องช่วยเหลือ  -จะได้รับคำตอบจากคนอื่น
Ò     ตอบคำถามและให้ความช่วยเหลือเป็นพระเอกขี่ม้าขาว
Ò     เสนอเคล็ดลับ, การหยั่งรู้,ใช้สิ่งที่เชื่อมโยงเผยแพร่และสร้างชื่อเสียงให้ตนเอง
Ò    KM ตอบสนองต่อคน,กระบวนการ,เทคโนโลยี
Ò    เพื่อให้เหมาะสมกับตัวบุคคล
Ò    ในเวลาที่เหมาะสม
Ò    ทำให้บุคลากรทำงานได้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
Ò    ภารกิจของการจัดการความรู้
Ò     การจัดการความรู้ในอุดมศึกษานั้นเพื่อ
Ò     ก.ตอบสนองต่อยุทธศาสตร์ของ สกอ. และมาตรฐานของ สมศ.
Ò     ข. ตอบสนองต่อวิสัยทัศน์ของวิทยาลัยกรุงเทพสุวรรณภูมิ
Ò     ค. ตอบสนองต่อระบบการบริหารของวิทยาลัยกรุงเทพสุวรรณภูมิ
Ò     ง. ตอบสนองต่อหน่วยงานในระดับวิทยาลัย,คณะ,หัวหน้าฝ่าย,แผนก,กลุ่ม ฯลฯ
Ò     จ. ตอบสนองต่อวัฒนธรรมองค์การ และเทคโนโลยีในสัดส่วน 80:20
Ò    ทำไมต้องจัดการความรู้ ?
Ò    1. เพื่อป้องกันการลดการใช้ความพยายาม
Ò    2. หลีกเลี่ยงความผิดพลาดในความผิดพลาดในอดีต
Ò    3. ใช้ประโยชน์จากสิ่งที่บุคลากรรู้แล้ว
Ò    เป้าหมายของการจัดการความรู้ในวิทยาลัย
Ò     ตัวอย่างเช่น
Ò     1. เพื่อให้เกิดการใช้ทรัพยากร และอุปกรณ์เครื่องมือให้เกิดประโยชน์สูงสุด เช่นคอมพิวเตอร์,ห้องสมุด,สื่อการสอน,สื่อการฝึกอบรมห้องประชุม,ห้องอบรม ฯลฯ
Ò     2. เพื่อให้บุคลากรมีส่วนร่วมในการแสดงความรู้เพื่อประโยชน์ต่อหน่วยงานในการริเริ่มสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ
Ò     3. เพื่อกระตุ้นให้บุคลากรมีการสื่อสารข้อมูลที่สำคัญ อย่างกว้างขวาง
Ò     4. เพื่อให้เข้าถึงข้อมูลข่าวสารและทรัพยากรได้โดยง่าย และทั่วถึง
Ò     5. เพื่อเสริมสร้างการทำงานที่ตอบสนองต่อการปรับตัว,เปลี่ยนแปลง,และปรับปรุงการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล
Ò    องค์ประกอบเครือข่ายความรู้(knowledge network component)
Ò     การจัดทำแผนความรู้ โดยสำนักงาน กพร.และสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ
การจัดการความรู้ในองค์กร   หมายถึง   การรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในองค์กร  ซึ่งกระจัด
       กระจายอยู่ในตัวบุคคลหรือเอกสาร มาพัฒนาให้เป็นระบบ  เพื่อให้ทุกคนในองค์กรสามารถ
       เข้าถึงความรู้  และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้  รวมทั้งปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะ
       ส่งผลให้องค์กรมีความสามารถในเชิงแข่งขันสูงสุด  โดยที่ความรู้มี  2 ประเภท คือ
       ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน  (Tacit Knowledge) เป็นความรู้ที่ได้จากประสบการณ์  พรสวรรค์หรือสัญชาตญาณของแต่ละบุคคลในการทำความเข้าใจในสิ่งต่างๆ  เป็นความรู้ที่ไม่สามารถถ่ายทอดออกมาเป็นคำพูดหรือลายลักษณ์อักษรได้โดยง่าย  เช่น ทักษะในการทำงาน งานฝีมือ หรือการคิดเชิงวิเคราะห์ บางครั้ง จึงเรียกว่าเป็นความรู้แบบนามธรรม
       ความรู้ที่ชัดแจ้ง  (Explicit Knowledge)  เป็นความรู้ที่สามารถรวบรวม ถ่ายทอดได้             โดยผ่านวิธีต่างๆ เช่น การบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร ทฤษฎี คู่มือต่างๆ และบางครั้งเรียกว่าเป็นความรู้แบบรูปธรรม
Ò    กระบวนการจัดการความรู้ (KM process)
Ò     กระบวนการจัดการความรู้ (KM process)
Ò     กระบวนการจัดการความรู้ (KM process)
  6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ – ทำได้หลายวิธีการ โดยกรณีเป็น Explicit Knowledge อาจจัดทำเป็น เอกสารฐานความรู้,เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือกรณีเป็น Tacit Knowledge อาจจัดทำเป็นระบบ ทีมข้ามสายงานกิจกรรมกลุ่มคุณภาพและนวัตกรรม,ชุมชนแห่งการเรียนรู้, ระบบพี่เลี้ยงการสับเปลี่ยนงานการยืมตัว,เวทีแลกเปลี่ยนความรู้ เป็นต้น
   7.การเรียนรู้ – ควรทำให้การเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของงาน เช่นเกิดระบบการเรียนรู้จาก  สร้างองค์ความรู้>นำความรู้ไปใช้>เกิดการเรียนรู้และประสบการณ์ใหม่ และหมุนเวียนต่อไปอย่างต่อเนื่อง

Ò   
กระบวนการบริหารจัดการการเปลี่ยนแปลง
 (Change Management Process)
Ò   
กระบวนการบริหารจัดการการเปลี่ยนแปลง
 (Change Management Process)
Ò   กระบวนการบริหารจัดการการเปลี่ยนแปลง (Change Management Process) เป็นกรอบความคิดแบบหนึ่งเพื่อให้องค์กรที่ต้องการจัดการความรู้ภายในองค์กร   ได้มุ่งเน้นถึงปัจจัยแวดล้อมภายในองค์กร ที่จะมีผลกระทบต่อการจัดการความรู้  ประกอบด้วย  6 องค์ประกอบ  ดังนี้
Ò   การเตรียมการและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม -   เช่น กิจกรรมการมีส่วนร่วมและสนับสนุนจากผู้บริหาร (ที่ทุกคนมองเห็น), โครงสร้างพื้นฐานขององค์กรทีมหน่วยงานที่รับผิดชอบ, มีระบบการติดตามและประเมินผล กำหนดปัจจัยแห่งความสำเร็จชัดเจน
Ò   การสื่อสาร – เช่น กิจกรรมที่ทำให้ทุกคนเข้าใจถึงสิ่งที่องค์กรจะทำ,ประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นกับทุกคน, แต่ละคนจะมีส่วนร่วมได้อย่างไร
Ò   กระบวนการและเครื่องมือ  ช่วยให้การค้นหา  เข้าถึง ถ่ายทอด และแลกเปลี่ยนความรู้สะดวกรวดเร็ว
Ò   ขึ้น โดยการเลือกใช้กระบวนการและเครื่องมือ ขึ้นกับชนิดของความรู้ลักษณะขององค์กร (ขนาด สถานที่ตั้ง ฯลฯ)ลักษณะการทำงาน,วัฒนธรรมองค์กรทรัพยากร
Ò   การเรียนรู้   เพื่อสร้างความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญและหลักการของการจัดการความรู้ โดยการเรียนรู้ต้องพิจารณาถึง เนื้อหา,กลุ่มเป้าหมายวิธีการ, การประเมินผลและปรับปรุง
Ò   การวัดผล  - เพื่อให้ทราบว่าการดำเนินการได้บรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้หรือไม่, มีการนำผลของการวัดมาใช้ในการปรับปรุงแผนและการดำเนินการให้ดีขึ้น, มีการนำผลการวัดมาใช้ในการสื่อสารกับบุคลากรในทุกระดับให้เห็นประโยชน์ของการจัดการความรู้  และการวัดผลต้องพิจารณาด้วยว่าจะวัดผลที่ขั้นตอนไหนได้แก่ วัดระบบ (System),วัดที่ผลลัพธ์ (Out put) หรือวัดที่ประโยชน์ที่จะได้รับ (Out come)
Òการยกย่องชมเชยและให้รางวัล  - เป็นการสร้างแรงจูงใจให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและการมีส่วนร่วมของบุคลากรในทุกระดับ โดยข้อควรพิจารณาได้แก่ ค้นหาความต้องการของบุคลากรแรงจูงใจระยะสั้นและระยะยาว, บูรณาการกับระบบที่มีอยู่, ปรับเปลี่ยนให้เข้ากับกิจกรรมที่ทำในแต่ละช่วงเวลา
Ò 
Òกระบวนการบริหารจัดการการเปลี่ยนแปลง  (Change Management Process)
Òองค์กรจะต้องมองภาพรวมของปัจจัยแวดล้อมภายในองค์กร ที่จะส่งผลกระทบต่อกระบวนการจัดการความรู้ (KM Process) ขององค์การ  โดยการนำกระบวนการบริหารจัดการการเปลี่ยนแปลงมาเชื่อมโยง เพื่อจะผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเสริมสร้างสภาพแวดล้อม ที่จะทำให้กระบวนการจัดการความรู้มีชีวิตหมุนต่อไปได้อย่างต่อเนื่อง    และทำให้การจัดการความรู้ขององค์กรมีประสิทธิผลโดยจัดทำเป็นแผนการจัดการความรู้  (KM Action Plan)  และนำไปสู่การปฏิบัติให้เกิดขึ้นจริงๆ
Ò 
Òเกลียวความรู้
Òปัญหาการศึกษาในระดับอุดมศึกษา
n ปัญหาสถาบันอุดมศึกษาไทยคุณภาพต่ำกว่ามาตรฐานสากล
n การสร้าง การแสวงหา(เป็นเพียงงานวิจัยที่สนองทุนวิจัย)  ความสามารถในการสังเคราะห์และการใช้ความคิดสร้างสรรค์ยังน้อย 
n วัฒนธรรมย่อยเป็นอุปสรรคไม่ส่งเสริมการทำงาน
n การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของสภาพสังคม  ปัจจัยสภาพการแข่งขันสูง 
พื้นฐานทฤษฎีสังคมเศรษฐกิจความรู้  ถือว่าความรู้เป็นปัจจัยสำคัญต่อการผลิต 
n จากปัญหาและความสำคัญดังกล่าวผู้วิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับ
การบริหารจัดการความรู้เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาไทย 
โดยมุ่งเน้นประเด็นการแลกเปลี่ยนและการบริการความรู้
Òรูปแบบการบริหารความรู้
รูปแบบการบริหารจัดการความรู้ในสถาบันอุดมศึกษาไทยที่นำเสนอเน้นด้านการแบ่งปัน แลกเปลี่ยนความรู้
และการบริการความรู้  ซึ่งประกอบด้วย
1.           ด้านภารกิจ  คือ การผลิต ถ่ายทอด และบริการความรู้
2.            ด้านนโยบาย คือ ให้มีการแบ่งปันความรู้อย่างทั่วถึงทั้งภายในและภายนอกสถาบัน
3.             ด้านเป้าหมาย คือ  การพัฒนาวัฒนธรรมการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้และวัฒนธรรมการบริการความรู้  พัฒนานอลลิดจ์เวอร์เคอร์ พัฒนาความรู้และอิเล็กทรอนิกส์ของสถาบัน  และพัฒนาปฏิสัมพันธ์ความรู้
4.            ด้านการประเมิน  คือ  ประเมินความสามารถและวัฒนธรรมของสถาบันด้านยุทธศาสตร์ ได้กำหนดยุทธศาสตร์ในการบริหารจัดการความรู้ไว้ ยุทธศาสตร์  คือ ยุทธศาสตร์ผู้บริหาร ยุทธศาสตร์นอลลิดจ์เวอร์เคอร์ ยุทธศาสตร์ปฏิสัมพันธ์ความรู้  ยุทธศาสตร์การสื่อสารความรู้และเทคโนโลยี  ยุทธศาสตร์การไว้วางใจ  และยุทธศาสตร์พลังร่วม 
5.             ด้านสำนักบริหารจัดการความรู้  คือ การวางแผนกลยุทธ์ การบริหารจัดการความรู้
6.           ด้านกระบวนการแบ่งปันแลกเปลี่ยน   และบริการความรู้ คือ  การเตรียมความพร้อม  การกำหนดวิธีการแบ่งปันแลกเปลี่ยนและบริการ การประเมินและปรับปรุงแก้ไข 
7.            ด้านผลการดำเนินการ  คือ  ทำให้ได้วัฒนธรรมการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้และการบริการความรู้  ชุมชนนอลลิดจ์เวอร์เคอร์  ฐานความรู้อิเล็กทรอนิกส์ปฏิสัมพันธ์ความรู้  นวัตกรรมการเรียนรู้ ผลิตภัณฑ์และการบริการ
Òผลงานวิจัยเกี่ยวกับการจัดการความรู้ในโรงงานอุตสาหกรรมของประเทศไทย
ÒFactors Influencing Knowledge Management Process Model: A Case Study of Manufacturing Industry in Thailand
ÒV. CONCLUSION
ÒThe interesting finding illustrated that knowledge  sharing
Òhad no influence in two knowledge management processes,
Òwhich were sharing and application. This implies that there is
Òstill resistance to sharing knowledge among employees. In
Òorder to keep tacit knowledge in the organization to further
Òdevelop explicit knowledge, the organization should find ways
Òto motivate employees to share knowledge. 
ÒOrganizational culture indicated highest influences on the
Òknowledge management processes in this study. However, it
Òmay be different in other cultures and countries; the same
Òstudy in different cultures should be performed. 
Òผลงานวิจัยเกี่ยวกับการจัดการความรู้ในโรงงานอุตสาหกรรมของประเทศไทย
ÒSince the scopes of this study were at the operational level
Òand tacit knowledge, the finding model could be more
Ògeneralized by applying with sharing both tacit and explicit
Òknowledge. The sample groups should have more variety and
Òmore in the professional and management level due to having
Òhigh mobility.
ÒFactors influencing knowledge management process may be
Òdifferent when applied to other sample groups from different
Òbusiness and industrial sectors. Therefore, the developed
Òmodel should be further tested with different dimensions in
Òboth positional level and business sectors for stability.
Òสกอ.กับการจัดการความรู้สู่ประชาคมอาเซียน
Òยุทธศาสตร์อุดมศึกษาไทยในการเตรียมความพร้อม
Òสู่การเป็นประชาคมอาเซียน ในปี 2558
Òสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา (สกอ.) ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการเข้าร่วมเป็นประชาคมอาเซียน ในปี
Òพ.ศ.2558 ตามกฎบัตรอาเซียน ซึง จะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้ง ทางด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคม วัฒนธรรม โดยเฉพาะด้านการศึกษา ทัง นีกศึกษา ผ่านมา สกอ. ได้กำหนดให้การเปิดเสรีการค้าบริการด้านการอุดมศึกษา และบูรนาการการเป็นประชาคมอาเซียน เป็นปัจจัยสำคัญในการจัดทำกรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที 2 เพื่อให้ระบบอุดมศึกษาเตรียมพร้อมในการรองรับให้ประเทศไทยเข้าสู่ประชาคมอาเซียนได้ อุดมศึกษาจำเป็นต้องเสริมหลักสูตรในทุกคณะและภาควิชา ให้นักศึกษาตระหนักในเรืองของอาเซียนมากขึ้น ทัง รายวิชาอาเซียนทั่ว ไป รายวิชาทีเปรียบเทียบมิติต่างๆ ในอาเซียน รายวิชาทีเจาะลึกเรืองเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และวัฒนธรรมของประเทศอาเซียน นอกจากนี้ ยังต้องมีการเตรียมความพร้อมในเรื่องของภาษาทั้งภาษาอังกฤษทีเป็นภาษาในการทำงานของอาเซียน และภาษาของประเทศเพื่อนบ้าน
Òสกอ.กับการจัดการความรู้สู่ประชาคมอาเซียน
Òสกอ. ได้จัดทำแผนยุทธศาสตร์อุดมศึกษาไทยเข้าสู่ประชาคมอาเซียนและการเปิดเสรีการค้าบริการด้านอุดมศึกษา
Òเพื่อเป็นแนวทางให้สถาบันอุดมศึกษาใช้วางแผนยุทธศาสตร์และนโยบายทัง ในระยะสั้น และระยะยาวต่อไป เพื่อให้คุณภาพ
Òบัณฑิตในอนาคตไปสู่สากล และนำประเทศให้มีความสามารถในการแข่งขันได้ โดยสร้างความร่วมมือกับประเทศสมาชิกใน
Òการเคลื่อนย้ายนักศึกษาและบุคลากรไปยังประเทศเพื่อนบ้านในระยะเริมต้น และขยายวงให้กว้างขึ้น
Òยุทธศาสตร์อุดมศึกษาไทยในการเตรียมความพร้อมสู่การเป็นประชาคมอาเซียน มีสาระสำคัญดังนี้
Òพันธะกิจ
Ò1. อุดมศึกษาไทยผลิตบัณฑิตทีมีคุณภาพระดับสากลและมีความตระหนักในการเป็นส่วนหนึ่งของประชาคมอาเซียน
Ò2. อุดมศึกษาไทยพัฒนาศักยภาพในการจัดการการอุดมศึกษาให้มีคุณภาพร่วมกับประเทศสมาชิกอาเซียน
Òสกอ.กับการจัดการความรู้สู่ประชาคมอาเซียน
Òเป้าหมาย
Ò1. ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษของบัณฑิตไทยอยู่ในระดับทีทัดเทียมกับบัณฑิตในประเทศสมาชิกอาเซียน
Ò2. สถาบันอุดมศึกษาทุกแห่งจัดการเรียนการสอนทีเอื้อ ต่อการเป็นประชาคมอาเซียนภายในปี พ.ศ.2558
Ò3. สถาบันอุดมศึกษาไทยมีจำนวนกิจกรรมทางวิชาการที่ทำร่วมกับประเทศอาเซียนเพิ่มมากขึน ในแต่ละปี
Ò4. จำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากสถาบันอุดมศึกษาไทย สามารถทำงานทั้ง ในหน่วยงานระหว่างประเทศ บริษัทข้าม
Òชาติในประเทศ และ/หรือประกอบการในกลุ่มประเทศอาเซียนเพิ่มขึ้น ในแต่ละปี
Ò5. จำนวนนักศึกษาอาเซียนในสถาบันอุดมศึกษาไทยเพิ่มขึ้น ร้อยละ 25 ต่อปี
Òสกอ.กับการจัดการความรู้สู่ประชาคมอาเซียน
Òตัวชี้วัด
Ò1. คะแนนการทดสอบภาษาอังกฤษตามเกณฑ์มาตรฐานสากลของนักศึกษาไทยโดยเฉลียอยู่ในระดับทีทัดเทียมกับประเทศ
Òสมาชิกอาเซียนอื่น
Ò2. จำนวนสถาบันอุดมศึกษาที่จัดการเรียนการสอนเกี่ยวกับอาเซียนและภาษาของประเทศสมาชิกอาเซียน
Ò3. จำนวนกิจกรรมทางวิชาการที่ทำร่วมกับประเทศสมาชิกอาเซียน
Ò4. จำนวนบัณฑิตไทยทำงานในหน่วยงานระหว่างประเทศและบริษัทข้ามชาติในไทย และ/หรือ ประกอบการในกลุ่มประเทศ
Òสมาชิกอาเซียน
Ò5. จำนวนนักศึกษาอาเซียนในสถาบันอุดมศึกษาไทย
Òสกอ.กับการจัดการความรู้สู่ประชาคมอาเซียน
Òยุทธศาสตร์ที่ 1 การเพิ่มขีดความสามารถของบัณฑิตให้มีคุณภาพมาตรฐานในระดับสากล
Òกลยุทธ์
Ò1. พัฒนาสมรรถนะด้านการใช้ภาษาอังกฤษของนักศึกษาไทยในระดับทีใช้ในการทำงานได้
Ò2. พัฒนาสมรรถนะด้านการประกอบวิชาชีพและการทำงานข้ามวัฒนธรรมของบัณฑิตไทย
Òมาตรการที่ควรพิจารณาดำเนินการ
Ò• ส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ และระบบวัดผลการเรียนการสอนภาษาอังกฤษทีมีประสิทธิภาพ ตัง แต่การศึกษาระดับพื้นฐานไปจนถึงระดับอุดมศึกษา
Ò• ส่งเสริมการผลิตและพัฒนาอาจารย์ด้านการสอนภาษาอังกฤษ รวมทั้ง ภาษาของประเทศสมาชิกอาเซียนทั้งในระดับการศึกษาขัน พื้นฐาน อาชีวศึกษาและอุดมศึกษา
Òสกอ.กับการจัดการความรู้สู่ประชาคมอาเซียน
Ò• ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนนักศึกษาโดยสนับสนุนการถ่ายโอนหน่วยกิต ระหว่างสถาบันอุดมศึกษาของไทยกับประเทศ
Òสมาชิกอาเซียนอย่างต่อเนืองและเป็นระบบ
Ò• ส่งเสริมการจัดกิจกรรมเพื่อเปิดโลกทัศน์และเปิดโอกาสให้นักศึกษาไทยได้แสดงความสามารถในเวทีระดับนานาชาติ
Òโดยเฉพาะอย่างยิงระดับอาเซียน รวมถึงกิจกรรมเพื่อสร้างความตระหนักในการเป็นพลเมืองอาเซียน
Òกิจกรรม/โครงการที สกอ.ควรริเริม/สนับสนุน/กำหนดนโยบาย
Ò การพัฒนาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ และการกำหนดมาตรฐานการวัดสมรรถนะด้านภาษาอังกฤษของบัณฑิต
Ò การผลิตและพัฒนาอาจารย์ด้านการสอนภาษาอังกฤษ
Ò การพัฒนาการเรียนการสอนภาษาของประเทศสมาชิกอาเซียน
Ò การจัดสรรทุนเพื่อการแลกเปลี่ยนนักศึกษาในอาเซียนและการพัฒนาระบบการถ่ายโอนหน่วยกิตในอาเซียน
Ò การจัดกิจกรรมเพื่อเปิดโลกทัศน์นักศึกษาไทยสู่นักศึกษาอาเซียน
Òสกอ.กับการจัดการความรู้สู่ประชาคมอาเซียน
Òยุทธศาสตร์ที 2 การพัฒนาความเข้มแข็งของสถาบันอุดมศึกษาเพือการพัฒนาประชาคมอาเซียน
Òกลยุทธ์
Ò1. พัฒนาอาจารย์ให้มีสมรรถนะสากล
Ò2. ส่งเสริมการสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมเกี่ยวกับอาเซียนในสถาบันอุดมศึกษา
Ò3. พัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนให้มีคุณภาพระดับสากล
Ò4. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานให้มีคุณภาพระดับสากล
Ò5. พัฒนาวิชาการและการวิจัยสู่ความเป็นเลิศ
Ò6. พัฒนาระบบอุดมศึกษาแห่งอาเซียนมาตรการทีควรพิจารณาดำเนินการ
Òสกอ.กับการจัดการความรู้สู่ประชาคมอาเซียน
Òมาตรการทีควรพิจารณาดำเนินการ
Ò• ส่งเสริมให้สถาบันอุดมศึกษากำหนดสัดส่วนอาจารย์ระดับปริญญาเอกให้สูงขึ้น รวมทัง สนับสนุนให้อาจารย์ผลิตผลงานทางวิชาการเพื่อเลื่อนตำแหน่งทางวิชาการโดยเฉพาะในระดับศาสตราจารย์ให้มากขึ้น
Ò• สร้างเครือข่ายด้านการวิจัยระหว่างศูนย์ความเป็นเลิศของสถาบันอุดมศึกษาไทยกับสถาบันอุดมศึกษา/หน่วยงาน/องค์กรทั้งภาครัฐและเอกชนในประเทศและในอาเซียนในสาขาทีสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาประเทศและทิศทางของอาเซียน
Ò• สนับสนุนทุนวิจัยระดับปริญญาเอก ทุนพัฒนาอาจารย์ และทุนสนับสนุนเพื่อผลิตงานวิจัยและเผยแพร่ผลงานวิจัย เช่น ในการประชุมทางวิชาการระดับภูมิภาค และวารสารทางวิชาการในระดับนานาชาติ เป็นต้น
Ò• ส่งเสริมให้มีการเผยแพร่งานวิจัยของนักวิชาการไทยและอาเซียน
Ò• ส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตรนานาชาติในสาขาทีประเทศไทยมีความเชียวชาญและเป็นทีต้องการของตลาดงานในอาเซียน
Òสกอ.กับการจัดการความรู้สู่ประชาคมอาเซียน
Ò• ส่งเสริมให้สถาบันอุดมศึกษาจัดหลักสูตรการเรียนการสอนเป็นสองภาษา เช่น ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เป็นต้น
Ò• ส่งเสริม/สนับสนุน/จัดสรรงบประมาณให้อาจารย์ชาวต่างประเทศทีมีความรู้ ความสามารถและความชำนาญสูง เช่น ผู้ทีเคยได้รับรางวัลโนเบล มาสอน บรรยาย และถ่ายทอดองค์ความรู้ให้แก่อุดมศึกษาไทย และ/หรือ ทำวิจัยในสถาบันอุดมศึกษาเพื่อยกระดับคุณภาพมาตรฐานการอุดมศึกษาไทย
Ò• ส่งเสริมกิจกรรมความร่วมมือทางวิชาการระหว่างสถาบันอุดมศึกษาของไทยและสถาบันอุดมศึกษาในอาเซียนเพื่อยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถาบัน
Òสกอ.กับการจัดการความรู้สู่ประชาคมอาเซียน
Òส่งเสริมให้สถาบันอุดมศึกษาพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร รวมทั้ง การอำนวยความสะดวกในด้านต่างๆ เช่น การเข้าใช้ห้องสมุด/ห้องปฏิบัติการ หอพักนักศึกษานานาชาติ เป็นต้น
Ò• ส่งเสริมให้สถาบันอุดมศึกษาพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสิ่งอำนวยความสะดวกและสภาพแวดล้อมทีมีความเป็นนานาชาติ
Òทั้ง ในกิจกรรมการเรียนการสอนและกิจกรรมนอกหลักสูตร และดำเนินกิจกรรมทางการตลาดและการประชาสัมพันธ์
Ò• ส่งเสริมการสร้างความกลมกลืน (Harmonization) ของการอุดมศึกษาในอาเซียน โดยเฉพาะในด้านคุณภาพและคุณวุฒิ
Òทางการศึกษาผ่านกลไกความร่วมมือระดับอุดมศึกษาทีมีอยู่ เช่นSEAMEO RIHED, AUN เป็นต้น
Òสกอ.กับการจัดการความรู้สู่ประชาคมอาเซียน
Òกิจกรรม/โครงการที่สกอ. ควรริเริ่ม/สนับสนุน/กำหนดนโยบาย
Ò การพัฒนาศักยภาพอาจารย์และบุคลากรในสถาบันอุดมศึกษา
Ò การสร้างเครือข่ายด้านการวิจัยในอาเซียน
Ò การจัดตั้ง สำนักงานการศึกษานานาชาติ
Ò การสนับสนุนการลงทุนด้านการอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานในสถาบันอุดมศึกษา
Ò การพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนและการวิจัยเกี่ยวกับอาเซียน รวมถึงการพัฒนาสื่อการ    เรียนการสอนและเทคโนโลยีสารสนเทศ
Ò การร่วมมือกับประเทศสมาชิกอาเซียนพัฒนากลไกเพื่อสร้างระบบอุดมศึกษาแห่งอาเซียน
Òสกอ.กับการจัดการความรู้สู่ประชาคมอาเซียน
Òยุทธศาสตร์ที่ 3 การส่งเสริมบทบาทของอุดมศึกษาไทยในประชาคมอาเซียน
Òกลยุทธ์
Ò1. ส่งเสริมบทบาทความเป็นผู้นำของสถาบันอุดมศึกษาไทยทีเกี่ยวข้องกับสามเสาหลักในการสร้างประชาคมอาเซียน
Òโดยเฉพาะอย่างยิงในเสาด้านประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
Ò2. สร้างความตระหนักในการรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียนและบทบาทของอุดมศึกษาไทยในการพัฒนาประชาคมอาเซียนทั้งในด้านบวกและลบ
Ò3. ส่งเสริมให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการศึกษาในกลุ่มประเทศเพื่อนบ้าน
Ò4. พัฒนาศูนย์ข้อมูลเกี่ยวกับสถาบันอุดมศึกษาในอาเซียน
Òสกอ.กับการจัดการความรู้สู่ประชาคมอาเซียน
Òมาตรการที่ควรพิจารณาดำเนินการ
Ò• ประชาสัมพันธ์ข้อมูลเกี่ยวกับกระบวนการดำเนินงานสู่การรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียนและความเคลื่อนไหวในการเจรจา
Òเปิดเสรีการค้าบริการด้านการศึกษาในอาเซียนและระหว่างอาเซียนกับประเทศคู่เจรจาแก่สถาบันอุดมศึกษาและผู้ที
Òเกี่ยวข้องอย่างต่อเนือง
Ò• ส่งเสริมการสร้างความตระหนักในเรืองเอกลักษณ์ของไทยและประเทศสมาชิกอาเซียน รวมทัง ส่งเสริมกิจกรรมสัมพันธ์ใน
Òหมู่ประชาชน ประชาคมอุดมศึกษา และเยาวชนอาเซียน
Ò• ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างสถาบันการศึกษากับหน่วยงานทีเกี่ยวข้องในการเตรียมการเพื่อใช้ประโยชน์และป้องกัน
Òผลกระทบทีเกิดจากการเคลื่อนย้ายกำลังคนข้ามชาติ เช่น การระบาดของโรค ยาเสพติด และอาชญากรข้ามชาติ เป็นต้น
Ò• จัดทำ Mapping สถาบันอุดมศึกษาแกนหลักในสาขาทีมีความเชียวชาญและเป็นความต้องการของเขตพื้นที
Òเศรษฐกิจต่างๆ โดยเชื่อมโยงระหว่างสถาบันอุดมศึกษาไทยทีมีความเชียวชาญและตอบสนองต่อการพัฒนาพืน ทีเศรษฐกิจ
Òต่างๆ กับสถาบันอุดมศึกษาในอาเซียน
Ò• ส่งเสริมให้อาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาไทยไปสอน/วิจัย/ให้บริการวิชาการ/ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมแก่สถาบันอุดมศึกษา
Òในอาเซียน
Òสกอ.กับการจัดการความรู้สู่ประชาคมอาเซียน
Òกิจกรรม/โครงการที สกอ. ควรริเริม/สนับสนุน/กำหนดนโยบาย
Ò การพัฒนาศูนย์ข้อมูลเกี่ยวกับอาเซียนและความเคลื่อนไหวอื่นๆ ทีเกียวข้องและกิจกรรมสัมพันธ์
Òการส่งเสริมให้สถาบันการศึกษาเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมวิชาการในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาประชาคมอาเซียน
Ò การจัดประชุมผู้บริหารระดับสูงด้านอุดมศึกษาของอาเซียนเพื่อสนับสนุนการสร้างกลไกเพื่อความกลมกลืน
Ò(Harmonization) ของระบบอุดมศึกษาแห่งอาเซียน
Ò การให้บริการการศึกษาและฝึกอบรมทางวิชาการและวิชาชีพแก่ประเทศสมาชิกอาเซียน
Ò จัดตัง หน่วยงานในสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาดำเนินการเกี่ยวกับอาเซียนโดยตรงเพื่อเป็นหน่วยประสานงาน
Òกระตุ้นให้เกิดการริเริมสร้างสรรค์และทำงานร่วมกับองค์กรทีมีอยู่แล้วในอาเซียนให้เกิดความเข้มแข็ง
Ò การพัฒนาความเข้มแข็งด้านภาษาไทยและภูมิปัญญาไทยรวมทัง การให้ความรู้เกี่ยวกับเอกลักษณ์ของประเทศสมาชิก
Òอาเซียน
ÒReference
Òแหล่งอ้างอิงข้อมูล
Ò- จดหมายข่าวสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา (HEC Newsletter) ปีที 2 ฉบับที 52 ประจำวันที 7 มีนาคม 2554
Òhttp://www.mua.go.th/pr_web/ohecnewsletter/


ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ระบบการเมืองที่ดีเหมือนปลาในอ่างแก้วที่มองเห็นตัวปลาชัดเจน

108 คำคมขงเบ้ง คำคมสอนใจ จากขงเบ้ง

ตัวแบบงบประมาณผูกพัน (Beyond Budgeting) ตอนที่หนึ่ง