รูปแบบทางเลือกในการแก้ปัญหาน้ำท่วมในอนาคต
จากคำทำนายว่าน้ำจะท่วมโลก จำเป็นอย่างยิ่งที่รัฐบาลจะต้องนำเรื่องนี้เป็นวาระเแห่งชาติในการแก้ปัญหาวิกฤติ และการแก้ปัญหาวิกฤติควรจะแก้ไขได้อย่้างยั่งยืนภายใต้งบประมาณที่จำกัดนั้น รัฐบาลปัจจุบันสามารถกำหนดวารรแห่งชาติ และหาวิธีทางแก้ปัญหา โดยผู้เขียนขอเสนอแนะทางเลือก ดังนี้
ก. กรณีใช้งบประมาณค่อนข้างมาก ระยะเวลาก่อสร้างไม่ต่ำกว่า 3-5 ปี ได้แก่
1) การสร้างเขื่อนกั้นทะเล โดยเริ่มตั้งแต่่จังหวัดทางเหนือลงมาถึงกรุงเทพ และฝั่งธนบุรี จนถึงตอนใต้ของประเทศ หรือเขื่อนที่แม่น้ำบรรจบกันระหว่างปิงวังยมน่าน ซึ่งปรากฎว่ายังสร้างเขื่อนไม่ครบ รวมทั้งอาจสร้างถนนบนเขื่อนขนาดกว้าง 10-12 เมตร เพื่อให้รถยนต์หรือรถที่ล่องจากรุงเทพไปทางตอนใต้ซึ่งอยู่ใกล้ชายฝั่งทะเล และทำเป็นแหล่งท่องเที่ยว หรือสร้างโรงแรมบริเวณใกล้ชายฝั่งทะเลมารองรับประสานกับเขื่อน รวมทั้งอาจสร้างถนนวงแหวนที่เชื่อมโยงไปถึงเขื่อน เพื่อว่าในอนาคตน้ำอาจจะท่วมโลกค่อนข้างสูง เป็นการป้องกันอย่างถาวร แต่ใช้งบประมาณค่อนข้างสูง และต้องรีบจัดทำแต่เนิ่น ๆ
2. การสร้างแนวพนังกั้นน้ำล้อมรอบแม่น้ำเจ้าพระยา และมีสะพานคร่อมหากบริเวณนั้นเป็นท่าเรือที่มีการคมนาคมโดยสารประชาชน สร้างแนวตลอดขนาดความสูงประมาณ 3.0-3.5 เมตร ซึ่งในกรุงเทพมีพนังกั้นน้ำเพียง 2 เมตร 10 เซ็นติเมตรเท่านั้น ซึ่งยังไม่เพียงพอ เพราะระดับน้ำทะเลมีโอกาสสูงกว่าในปัจจุบัน
3. สร้างอุโมงยักษ์ใต้ดินขนาดความกว้างประมาณ 30 เมตร วางเป็นท่อทั้งหมด 6 ท่อสองชั้นเพื่อให้ระบายน้ำสู่ทะเล พร้อมทำแก้มลิงเพื่อรองรับการระบายน้ำตามโครงการพระราชดำริ การทำอุโมงค์ลอยฟ้าอาจจะทำเชื่อมประสานด้านบนได้ เพื่อให้มีรถไฟบนอุโมงค์ เพื่อความสะดวกในการเดินทาง หรือเพื่อการท่องเที่ยวที่เชื่อมโยงกับเขื่อนที่สร้างในข้อ 1 แนวการสร้างอุโมงค์นี้จะมาจากตั้งแต่นครสวรรค์,ลพบุรีจนถึงอยุธยา,ปทุมธานี และกรุงเทพ ฯ ซึ่งควรมีถึง 25 อุโมงค์ ซึ่งาความลึกของอุโมงค์ประมาณ 10-15 เมตร หากสร้างทั้งหมด 25 อุโมงค์ที่เชื่อมโยงจากคลองหลักสำคัญของจังหวัดต่าง ๆ และเพิ่มประตูระบายน้ำใหม่ที่สร้างมา 25 แห่ง ก็จะช่วยให้ระบายน้ำวันละ 1.000 ล้านลูกบาศก์เมตรหรือมากกว่า โดยใช้เครื่องสูบน้ำขนาดใหญ่มาใช้จำนวนที่เหมาะสม
4. ควรสร้างที่เก็บน้ำตามแนวพระราชดำริของสมเด็จพระเทพพระรัตนราชสุดา ที่สร้างสถานที่เก็บน้ำได้ถึงประมาณห 40 ล้านลูกบาศก์เมตร จากการใช้พื้นที่ประมาณ 3,000 ไร่ ซึ่งเรื่องนี้รัฐบาลอาจต้องขอความร่วมมือกับภาคประชาชนเพื่อให้ประชาชนได้เป็นเจ้าของโครงการ่วมกัน และเป็นแหล่งท่องเที่่ยวที่รัฐบาลได้ลงทุนโดยผ่านทางภาคเอกชน หรือจากการลงทุนต่างประเเทศ ที่เก็บน้ำสำรองไว้หากใช้ทั้งหมด 25 แห่งก็จะเก็บน้ำได้ประมาณ 1,000 ล้านลูกลาศก์เมตร ช่วยให้น้ำไม่ท่วมไปยังท้องทุ่งนา หรือสวนของประชาชน และแนวการจัดทำจะอยู่ใกล้คลอง ดังเช่นคลองหลวงคลองห้าที่เป็นแบบอย่าง
ข. กรณ๊ที่ใช้งบประมาณในระดับปานกลาง ได้่แก่
1)การขุดคลองเพิ่มเติมขนาดความก้ว้างประมาณ 30 เมตร ความลึกประมาณ 10- 15 เมตร เป้นลักษณะ Slope ลาดลงมาโดยการจัดบุูรนาการคลองทั้งประเทศ และการคำนวณประสิทธิภาพการระบายน้ำว่าได้มากน้อยเพียงใด และมีการสร้างพนังกั้นน้ำตามแนวคลองทุกคลองเพิ่มเขึ้นประมาณ 1 เมตร เพื่อป้องกันไม่ให้น้ำท่วมไปยังถนนหนทางที่ใช้ในการเดินทาง แต่การขุดคลองอาจจำเป็นต้องมีแนวเวนคืน และชดเชยให้แก่ประชาชน หรือจัดพื้นที่ว่างให้ราษฎรหาที่อยู่ที่มีความสูง เช่นการจัดทำเมืองใหม่ที่อยู่ตามบริเวณภูเขาในต่างจังหวัดให้มีความเจริญอย่างรวดเร็ว เป้นการลงทุนทั้งประเทศ แต่ไม่เกี่ยวกับน้ำท่วม แต่เป็นการแสวงหาลู่ทางให้ประชาชนมีแหล่งที่อยู่อาศัยที่อยู่สูง หากประเทศเกิดน้ำท่วมขนาดใหญ่ก็สามารถเข้าไปอยุู่ได้ โดยมีถนนเลอยฟ้าเชื่อมโยงที่อยู่อาศัยทั้งหมด หากเกิดปัญหาวิกฤติน้ำท่วมจะได้มีการอพยพคนไปอยู่ในที่สูงได้
2) การปลูกป่าทั่วประเทศ เพื่อป้องกันน้ำท่วมที่ไหลอย่างรุนแรง และทำให้เกิดปัญหาดินถล่มจากภูเขา เพราะไม่มีต้นไม้ยึดโยงดินเอาไว้
ค. กรณีที่ใช้งบประมาณไม่มาก ได้แก่
1) การขุดคูคลองให้ลึกทั่วประเทศ โดยมอบให้ อบต.เทศบาล หรือท้องถิ่นหรือชุมชนดำเนินการว่าจ้าง เพื่อขุดลอกคูคลองให้ลึก และอาจเพิ่มความก้าวขึ้นมาในระดับหนึ่ง ในขณะเดียวกันการสร้างถนนในปัจจุบันควรยกถนนให้สูงขึ้น และในการเวนคืนที่ดินเพื่ือสร้างถนนที่สูงขึ้น รัฐบาลควรมีงบประมาณชดเชยให้แก่ประเชาชนที่บ้านต่ำกว่่าถนน เช่นใช้การดีดตัวบ้านให้สูงขึ้น ซึ่งเรื่องนี้รัฐบาลต้องวางแผนล่วงหน้าในการเพิ่มระดับถนนให้สูงขึ้น
2) การให้ประชาชนทั้งประเทศมีการวางแผนทำบ่อน้ำขนาดใหญ่เพื่อกักเก็บน้ำเพื่อชุมชนในแต่ละท้องที่่ โดยรัฐสนับสนุนเงินงบประมาณเพื่อชดเชยค่าที่ดิน หร่ือการลงทุนเลี้่ยงปลาไปในตัว และมีการช่วยเหลือกันดูแลบ่อน้ำในทุกแห่งทุกชุมชน เพื่อทำให้ประเทศมีบ่อน้ำจำนวนมากกักเก็บน้ำ พร้อมกับเลี้ยงสัตว์น้ำ หร้ือเลี้ยงปลาซึ่งทำให้เกิดรายได้แก่ชุมชน โดยให้ อบต.,เทศบาล หรือส่วนท้องถิ่นได้ร่วมมือกับภาครัฐ ในการจัดงบพิเศษเพื่อการดังกล่าว
3. การเปลี่ยนแปลงนิคมอุตสาหกรรมที่ก่อสร้างเป็นแนวกั้นน้ำ หรืออยู่ในที่ต่ำนั้นควรมีการส่งเสริมให้นิคมอุตสาหกรรมมีการโยกย้าย หรือหาแนวทางแก้ปัญหาอย่างเป็นรูปธรรมเพื่อป้องกันน้ำท่วมได้
เช่นการยกเครื่องจักรที่สูงขึ้นกว่าระดับน้ำ โดยออกแบบโรงงานที่มีการติดต่ั้งเครื่องจักรที่อยู่ชั้นสองหรือชั้นบนได้ เพราะหากน้ำท่วมมาก็ยังสามารถทำการผลิตได้ ทำให้การผลิตไม่หยุดชะงัก, การจ้างงานมีต่อเนื่อง
สรุป การเสนอแนะเป็นเพียงความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนว่ามีความเป็นไปได้เพียงใด ในการจัดการแก้ปัญหาน้ำท่วม และเป็นแนวทางกว้างในภาพใหญ่ และสิ่งสำคัญที่อยู่เหนือกว่าการจัดการวิกฤติคือภาวะผู้นำในยามวิกฤติต้องกล้าตัดสินใจอย่างเด็ดเดี่ยว, และเด็ดขาดเพราะเป็นการเน้นการปกป้องความเสียหายที่เกิดขึ้นให้มี่น้อยมากที่สุดเท่าที่จะทำได้ ซึ่งเรื่องนี้คงไม่สามารถโทษรัฐบาลปัจจุบันนี้ได้ แต่หากเกิดจากนักการเมืองตั้งแต่อดีตละเลยกันมาเป็นเวลานานจนเกิดปัญหาใหญ่หลวงขนาดนี้ ในการประชุมสภาผู้เทนราษฎรยังอภิปรายในลักษณะเกาไม่ถูกที่คัด และมีการโจมตีอย่างชนิดที่่มั่วไปหมด แต่ควรมีลักษณะเสนอความคิดเห็นที่ช่วยรัฐบาลร่วมกัน เพราะเป็นการซ้ำเติมรัฐบาลอย่างไม่เป็นธรรม
ก. กรณีใช้งบประมาณค่อนข้างมาก ระยะเวลาก่อสร้างไม่ต่ำกว่า 3-5 ปี ได้แก่
1) การสร้างเขื่อนกั้นทะเล โดยเริ่มตั้งแต่่จังหวัดทางเหนือลงมาถึงกรุงเทพ และฝั่งธนบุรี จนถึงตอนใต้ของประเทศ หรือเขื่อนที่แม่น้ำบรรจบกันระหว่างปิงวังยมน่าน ซึ่งปรากฎว่ายังสร้างเขื่อนไม่ครบ รวมทั้งอาจสร้างถนนบนเขื่อนขนาดกว้าง 10-12 เมตร เพื่อให้รถยนต์หรือรถที่ล่องจากรุงเทพไปทางตอนใต้ซึ่งอยู่ใกล้ชายฝั่งทะเล และทำเป็นแหล่งท่องเที่ยว หรือสร้างโรงแรมบริเวณใกล้ชายฝั่งทะเลมารองรับประสานกับเขื่อน รวมทั้งอาจสร้างถนนวงแหวนที่เชื่อมโยงไปถึงเขื่อน เพื่อว่าในอนาคตน้ำอาจจะท่วมโลกค่อนข้างสูง เป็นการป้องกันอย่างถาวร แต่ใช้งบประมาณค่อนข้างสูง และต้องรีบจัดทำแต่เนิ่น ๆ
2. การสร้างแนวพนังกั้นน้ำล้อมรอบแม่น้ำเจ้าพระยา และมีสะพานคร่อมหากบริเวณนั้นเป็นท่าเรือที่มีการคมนาคมโดยสารประชาชน สร้างแนวตลอดขนาดความสูงประมาณ 3.0-3.5 เมตร ซึ่งในกรุงเทพมีพนังกั้นน้ำเพียง 2 เมตร 10 เซ็นติเมตรเท่านั้น ซึ่งยังไม่เพียงพอ เพราะระดับน้ำทะเลมีโอกาสสูงกว่าในปัจจุบัน
3. สร้างอุโมงยักษ์ใต้ดินขนาดความกว้างประมาณ 30 เมตร วางเป็นท่อทั้งหมด 6 ท่อสองชั้นเพื่อให้ระบายน้ำสู่ทะเล พร้อมทำแก้มลิงเพื่อรองรับการระบายน้ำตามโครงการพระราชดำริ การทำอุโมงค์ลอยฟ้าอาจจะทำเชื่อมประสานด้านบนได้ เพื่อให้มีรถไฟบนอุโมงค์ เพื่อความสะดวกในการเดินทาง หรือเพื่อการท่องเที่ยวที่เชื่อมโยงกับเขื่อนที่สร้างในข้อ 1 แนวการสร้างอุโมงค์นี้จะมาจากตั้งแต่นครสวรรค์,ลพบุรีจนถึงอยุธยา,ปทุมธานี และกรุงเทพ ฯ ซึ่งควรมีถึง 25 อุโมงค์ ซึ่งาความลึกของอุโมงค์ประมาณ 10-15 เมตร หากสร้างทั้งหมด 25 อุโมงค์ที่เชื่อมโยงจากคลองหลักสำคัญของจังหวัดต่าง ๆ และเพิ่มประตูระบายน้ำใหม่ที่สร้างมา 25 แห่ง ก็จะช่วยให้ระบายน้ำวันละ 1.000 ล้านลูกบาศก์เมตรหรือมากกว่า โดยใช้เครื่องสูบน้ำขนาดใหญ่มาใช้จำนวนที่เหมาะสม
4. ควรสร้างที่เก็บน้ำตามแนวพระราชดำริของสมเด็จพระเทพพระรัตนราชสุดา ที่สร้างสถานที่เก็บน้ำได้ถึงประมาณห 40 ล้านลูกบาศก์เมตร จากการใช้พื้นที่ประมาณ 3,000 ไร่ ซึ่งเรื่องนี้รัฐบาลอาจต้องขอความร่วมมือกับภาคประชาชนเพื่อให้ประชาชนได้เป็นเจ้าของโครงการ่วมกัน และเป็นแหล่งท่องเที่่ยวที่รัฐบาลได้ลงทุนโดยผ่านทางภาคเอกชน หรือจากการลงทุนต่างประเเทศ ที่เก็บน้ำสำรองไว้หากใช้ทั้งหมด 25 แห่งก็จะเก็บน้ำได้ประมาณ 1,000 ล้านลูกลาศก์เมตร ช่วยให้น้ำไม่ท่วมไปยังท้องทุ่งนา หรือสวนของประชาชน และแนวการจัดทำจะอยู่ใกล้คลอง ดังเช่นคลองหลวงคลองห้าที่เป็นแบบอย่าง
ข. กรณ๊ที่ใช้งบประมาณในระดับปานกลาง ได้่แก่
1)การขุดคลองเพิ่มเติมขนาดความก้ว้างประมาณ 30 เมตร ความลึกประมาณ 10- 15 เมตร เป้นลักษณะ Slope ลาดลงมาโดยการจัดบุูรนาการคลองทั้งประเทศ และการคำนวณประสิทธิภาพการระบายน้ำว่าได้มากน้อยเพียงใด และมีการสร้างพนังกั้นน้ำตามแนวคลองทุกคลองเพิ่มเขึ้นประมาณ 1 เมตร เพื่อป้องกันไม่ให้น้ำท่วมไปยังถนนหนทางที่ใช้ในการเดินทาง แต่การขุดคลองอาจจำเป็นต้องมีแนวเวนคืน และชดเชยให้แก่ประชาชน หรือจัดพื้นที่ว่างให้ราษฎรหาที่อยู่ที่มีความสูง เช่นการจัดทำเมืองใหม่ที่อยู่ตามบริเวณภูเขาในต่างจังหวัดให้มีความเจริญอย่างรวดเร็ว เป้นการลงทุนทั้งประเทศ แต่ไม่เกี่ยวกับน้ำท่วม แต่เป็นการแสวงหาลู่ทางให้ประชาชนมีแหล่งที่อยู่อาศัยที่อยู่สูง หากประเทศเกิดน้ำท่วมขนาดใหญ่ก็สามารถเข้าไปอยุู่ได้ โดยมีถนนเลอยฟ้าเชื่อมโยงที่อยู่อาศัยทั้งหมด หากเกิดปัญหาวิกฤติน้ำท่วมจะได้มีการอพยพคนไปอยู่ในที่สูงได้
2) การปลูกป่าทั่วประเทศ เพื่อป้องกันน้ำท่วมที่ไหลอย่างรุนแรง และทำให้เกิดปัญหาดินถล่มจากภูเขา เพราะไม่มีต้นไม้ยึดโยงดินเอาไว้
ค. กรณีที่ใช้งบประมาณไม่มาก ได้แก่
1) การขุดคูคลองให้ลึกทั่วประเทศ โดยมอบให้ อบต.เทศบาล หรือท้องถิ่นหรือชุมชนดำเนินการว่าจ้าง เพื่อขุดลอกคูคลองให้ลึก และอาจเพิ่มความก้าวขึ้นมาในระดับหนึ่ง ในขณะเดียวกันการสร้างถนนในปัจจุบันควรยกถนนให้สูงขึ้น และในการเวนคืนที่ดินเพื่ือสร้างถนนที่สูงขึ้น รัฐบาลควรมีงบประมาณชดเชยให้แก่ประเชาชนที่บ้านต่ำกว่่าถนน เช่นใช้การดีดตัวบ้านให้สูงขึ้น ซึ่งเรื่องนี้รัฐบาลต้องวางแผนล่วงหน้าในการเพิ่มระดับถนนให้สูงขึ้น
2) การให้ประชาชนทั้งประเทศมีการวางแผนทำบ่อน้ำขนาดใหญ่เพื่อกักเก็บน้ำเพื่อชุมชนในแต่ละท้องที่่ โดยรัฐสนับสนุนเงินงบประมาณเพื่อชดเชยค่าที่ดิน หร่ือการลงทุนเลี้่ยงปลาไปในตัว และมีการช่วยเหลือกันดูแลบ่อน้ำในทุกแห่งทุกชุมชน เพื่อทำให้ประเทศมีบ่อน้ำจำนวนมากกักเก็บน้ำ พร้อมกับเลี้ยงสัตว์น้ำ หร้ือเลี้ยงปลาซึ่งทำให้เกิดรายได้แก่ชุมชน โดยให้ อบต.,เทศบาล หรือส่วนท้องถิ่นได้ร่วมมือกับภาครัฐ ในการจัดงบพิเศษเพื่อการดังกล่าว
3. การเปลี่ยนแปลงนิคมอุตสาหกรรมที่ก่อสร้างเป็นแนวกั้นน้ำ หรืออยู่ในที่ต่ำนั้นควรมีการส่งเสริมให้นิคมอุตสาหกรรมมีการโยกย้าย หรือหาแนวทางแก้ปัญหาอย่างเป็นรูปธรรมเพื่อป้องกันน้ำท่วมได้
เช่นการยกเครื่องจักรที่สูงขึ้นกว่าระดับน้ำ โดยออกแบบโรงงานที่มีการติดต่ั้งเครื่องจักรที่อยู่ชั้นสองหรือชั้นบนได้ เพราะหากน้ำท่วมมาก็ยังสามารถทำการผลิตได้ ทำให้การผลิตไม่หยุดชะงัก, การจ้างงานมีต่อเนื่อง
สรุป การเสนอแนะเป็นเพียงความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนว่ามีความเป็นไปได้เพียงใด ในการจัดการแก้ปัญหาน้ำท่วม และเป็นแนวทางกว้างในภาพใหญ่ และสิ่งสำคัญที่อยู่เหนือกว่าการจัดการวิกฤติคือภาวะผู้นำในยามวิกฤติต้องกล้าตัดสินใจอย่างเด็ดเดี่ยว, และเด็ดขาดเพราะเป็นการเน้นการปกป้องความเสียหายที่เกิดขึ้นให้มี่น้อยมากที่สุดเท่าที่จะทำได้ ซึ่งเรื่องนี้คงไม่สามารถโทษรัฐบาลปัจจุบันนี้ได้ แต่หากเกิดจากนักการเมืองตั้งแต่อดีตละเลยกันมาเป็นเวลานานจนเกิดปัญหาใหญ่หลวงขนาดนี้ ในการประชุมสภาผู้เทนราษฎรยังอภิปรายในลักษณะเกาไม่ถูกที่คัด และมีการโจมตีอย่างชนิดที่่มั่วไปหมด แต่ควรมีลักษณะเสนอความคิดเห็นที่ช่วยรัฐบาลร่วมกัน เพราะเป็นการซ้ำเติมรัฐบาลอย่างไม่เป็นธรรม
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น