บทความ

การจัดการคัดสรรคนเก่ง (Talent Management)

                การจัดการเพื่อได้คนเก่งมาทำงานนั้น สิ่งสำคัญที่ไม่แพ้กันคือต้องเป็นคนที่ทำได้ดีมีความสามารถและทำประโยชน์ให้กับองค์การโดยส่วนรวม   บุคลากรต่าง ๆ นั้นมีมากแต่ผู้ที่มีวุฒิสามารถนั้นไม่ได้มีมาก    ในสังคมที่นิยมระบบอุปถัมภ์บางครั้งก็ละเลยหรือไม่ให้ความสนใจในเรื่องการรับคนเก่งมาทำงาน  อาจเป็นเพราะว่ากลัวคนเก่ง หรือคนที่เหนือกว่าทำให้ผู้บริหารรู้สึกว่าตนเองด้อยลง  จึงพยายามรับคนที่ไม่จำเป็นต้องเก่งแต่ขอให้ทำงานแบบรับใช้หรือประเภทใช่ครับ,ขอรับเจ้าค่ะ หรือนิยมคนที่ประจบเอาใจ ไม่ชอบคนมีความคิดเห็นต่างกันตนมาทำงาน เพราะรู้สึกว่าไม่ใช่พวกเดียวกัน ซึ่งเป็นแนวคิดที่ไม่ถูกต้อง เพราะความเห็นต่างนำไปสู่การต่อยอดที่ดีกว่า และการทำจิตใจให้กว้างขวางในการยอมรับความแตกต่างเป็นเรื่องที่นำไปสู่สังคมประชาธิปไตย  การใช้ระบบอุปถัมภ์มากเกินไปอาจนำไปสู่สังคมแบบเผด็จการได้ เพราะมนุษย์หลงและยึดมั่นในตัวบุคคล และไม่นิยมคนมีผลงานก็เป็นได้ ทำให้องค์การหรือประเทศชาติไม่เจริญรุ่งเรือง  หากผู้บริหารองค์การไม่ได้ตระหนักเรื่องนี้    เพราะฉะนั้นคนดีอาจเป็นคนที่ทำตามใจผู้ใหญ่ ไม่กล้าแสดงความเห็นเพราะเกรงว่าจ

กรอบเค้าโครงความคิดของการจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่เปลี่ยนแปลงไป

ตามทัศนะของ Ashutosh ได้เปรียบเทียบกรอบความคิดปัจจุบันกับกรอบความคิดใหม่ในการจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่เปลี่ยนแปลงไปมีดังนี้                  กรอบความคิดที่เป็นอยู่                 กรอบความคิดใหม่ในอนาคต             1.  เน้นงาน (Task First)                    1. เน้นคน (People First)             2.  บุคคลไม่มีความสำคัญ                  2. ตัวบุคคลเป็นทรัพย์สินที่มีค่า             3.  ควบคุมโดยหัวหน้างาน                  3. ผูกพันในการทำงานเป็นทีม              4.  การตัดสินใจสั่งการจากเจ้านาย        4. การตัดสินใจแบบมีมติร่วมกัน (Consensus)             5.  มีอำนาจเหนือบุคลากร                  5. บุคลากรมีการเพิ่มพลังอำนาจ (Empowerment)             6.  เน้นความมั่นคง,เสี่ยงต่ำ                6. เน้นนวัตกรรมภายใต้องค์การที่เปลี่ยนแปลง             7.  มาตรฐานเน้นคุุณภาพสินค้า           7. มาตรฐานเน้นคุณภาพสินค้าและบริการระดับโลก                  บริการที่ยอมรับได้             8.  มีกฎเกณฑ์และข้อบังคับตายตัว       8. มีกรรมวิธีปฏิบัติงานที่ยืดหยุ่น             9.  ทำสิ่งต่าง ๆให้ถู

การประเมินผลงาน (Performance Appraisal)

-ความหมายของ การประเมินผลงาน -การใช้การประเมินผลงาน    ก.การวางแผนทรัพยากรมนุษย์    ข. การสรรหาและการคัดเลือก    ค. การฝึกอบรมและพัฒนา    ง. การวางแผนและพัฒนาอาชีพ    จ. โปรแกรมค่าตอบแทน    ฉ. แรงงานสัมพันธ์ภายใน    ช. การประเมินศักยภาพบุคลากร - ปัจจัยสิ่งแวดล้อมของการประเมินผลงาน - กระบวนการประเมินผลงาน - สิ่งที่ต้องประเมิน - ผลลัพธ์ของงาน - การประเมินศักยภาพ - ความรับผิดชอบสำหรับการประเมินผลงาน    ก.หัวหน้างาน    ข. ลูกน้อง    ค. เพื่อนร่วมงาน    ง. การประเมินผลตนเอง    จ. การประเมินผลลูกค้า  - วิธีการประเมินผลงาน    ก. การประเมินผลงาน 360 องศา    ข. วิธีการ Rating Scale    ค. การประเมินแบบ critical incident    ง. การประเมินแบบเขียนเรียงความ (Essay)    จ. มาตรฐานการงาน    ฉ. การจัด Ranking    ช. การกระจายแบบ Forced Distribution    ซ. Force-choice and weighed checklist performance report    ฌ. Behaviorally Anchored Rating Scaled    ญ. Results-Based Systems    ฎ. Assessment Center - ปัญหาในการประเมินผลงาน    ก. Lack of objectivity    ข. Halo Error   

สิ่งที่แตกต่างกันระหว่างธุรกิจในยุคศตวรรษที่ 20 และ 21

             จากแนวคิดของ Wayne F.Casio  ได้จำแนกความแตกต่างของของบริษัทในยุคศตวรรษที่ 20 และศตวรรษที่ 21 มีความแตกต่างกันตามตารางดังนี้              ลักษณะ                        ศตวรรษที่ 20                           ศตวรรษที่ 21              องค์การ                        เป็นแบบปิรามิด                         เป็นเวบหรือเครือข่าย              การมุ่งเน้น                     ภายใน                                    ภายนอก              สไตล์                           แบบมีโครงสร้าง                        แบบยืดหยุน              ที่มาของจุดแข็ง              ความมั่นคง                              มีการเปลี่ยนแปลง              โครงสร้าง                     แบบพึ่งตนเอง                           แบบพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน              ทรัพยากร                      มีทรัพย์สินเชิงกายภาพ                แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร              การดำเนินงาน                บูรนาการในแนวดิ่ง                     บูรนาการแบบจำลอง              ผลิตภัณฑ์                     สินค้

บทที่ 7 การวางแผนอาชีพและพัฒนาอาชีพ

7.1 ความหมายของการวางแผนอาชีพ (Career Planning)       คือกระบวนการที่ต่อเนื่องในตัวบุคคลในการกำหนดเป้าหมายอาชีพและแยกแยะปัจจัยที่จะบรรลุเป้าหมาย การวางแผนอาชีพโดยเฟรด ไพรซ์ ได้แก่ทางเดินอาชีพที่เขาคาดหวังในการนำเขาจากตำแหน่งระดับล่างไปสู่ตำแหน่งผู้จัดการโรงงาน จุดมุ่งสำคัญของการวางแผนอาชีพควรจะสอดคล้องกับเป้าหมายส่วนบุคคลในโอกาสต่าง ๆที่มีความเป็นจริงเท่าที่ทำได้ 7.2 ทางเดินอาชีพ (Career Path) คือเส้นทางความยืดหยุ่นในความเคลื่อนไหวโดยผ่านเส้นทางอาชีพที่กำหนดไว้ 7.3 การพัฒนาอาชีพ (Career Development) คือแนวทางที่เป็นทางการที่นำไปใช้ในองค์การเพื่อช่วยให้บุคลากรได้มาซึ่งทักษะ(Skill) และประสบการณ์ที่ต้องการเพื่อปฏิบัติงานปัจจุบันและอนาคต 7.4 ความมั่นคงในงาน (Job Security) และความมั่นคงในอาชีพ (Career Security) 7.5 ขั้นตอนอาชีพที่กระทบต่อชีวิต       7.5.1 ขั้นเติบโต (Growth Stage)       7.5.2 ขั้นสำรวจ (Exploration stage)       7.5.3 ขั้นบำรุงรักษา (Maintenance Stage)       7.5.4 ขั้นร่วงโรย (Decline Stage) 7.6 หลักเกี่ยวกับอาชีพ (Career Anchor)       7.6.1 สมรรถนะการจัดการ (man

บทที่ 6 การฝึกอบรมและพัฒนา (Training and Development)

6.1 ความหมายของ Training และ Development       การฝึกอบรมมุ่งออกแบบเพื่อสนองการเรียนรู้ในด้านความรู้และทักษะที่จำเป็นสำหรับงานปัจจุบัน       การพัฒนาเกี่ยวกับกับการเรียนรู้ที่จะก้าวไปข้างหน้าใช้เวลาระยะยาว 6.2 ความหมายขององค์การแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization)       "ความสามารถในการปรับตัวและเข้ากับการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง" 6.3 การเปลี่ยนแปลงองค์การและการฝึกอบรมและพัฒนา       6.3.1การเปลี่ยนแปลงในโครงสร้างอันเป็นสาเหตุจากการควบรวมกิจการ,การซื้อกิจการ,การเติบโต             อย่างรวดเร็ว,การลดขนาดแรงงานลง,และการจ้างเหมาบริการ       6.3.2 การเปลี่ยนแปลงในเทคโนโลยีและจำเป็นต้องมีพนักงานที่มีทักษะชั้นสูง       6.3.3 การเปลี่ยนแปลงระดับการศึกษาของบุคลากรสุงขึ้น แต่จำเป็นต้องมีการฝึกอบรมเพิ่มเติมแบบ             ซ่อมเสริม       6.3.4 การเปลี่ยนแปลงทรัพยากรมนุษย์,การส่งเสริมกำลังแรงงานหลากหลายที่มาจากบุคคลหลาย             กลุ่ม       6.3.5 มีแรงกดดันจากการแข่งขันซึ่งจำเป้นต้องมีหลักสูตรที่ยืดหยุ่น ได้แก่การฝึกอบรมแบบทันเวลา พอดี (Just in time training) และการฝึ

บทที่ 5 การสรรหาและคัดเลือกด

การสรรหา (Recruitment) 1. ทางเลือกในการสรรหา     ก.การจ้างเหมางานบริการ (Outsourcing)     ข. พนักงานตามสถานการณ์ (Contingent Workers)     ค. องค์การนายจ้างวิชาชีพ: การทำสัญญาจ้างพนักงาน (Employee leasing)     ง. งานล่วงเวลา (overtime) 2.สิ่งแวดล้อมภายนอกของการสรรหา     ก. สภาพตลาดแรงงาน     ข. ข้อพิจารณาทางตัวบทกฎหมาย     ค. ภาพพจน์บริษัท    2.1สิ่งแวดล้อมภายในของการสรรหา     ก.การวางแผนทรัพยากรมนุษย์     ข. นโยบายการเลื่อนขั้นเลื่อนตำแหน่ง     ค.ความรู้ของบุคลากรในบริษัท     ง. การเล่นพรรคเล่นพวก (nepotism)  3. กระบวนการในการสรรหา     ก.วิธีการสรรหาจากภายใน     ข. แหล่งสรรหาจากภายนอก         ก) วิทยาลัย และมหาวิทยาลัย         ข) วิทยาลัยชุมชน         ค) โรงเรียนอาชีวศึกษา         ง)คู่แข่งและบริษัทอื่น ๆ         จ) คนว่างงาน         ฉ) พนักงานสูงอายุ         ช) บุคลากรทหาร         ซ) พนักงานที่ดูแลตนเอง (self-employed workers)  4. หน่วยงานการจ้างงานภาครัฐและเอกชน         ก)นักสรรหา         ข) ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ         ค) การฝึกงาน         ง) หน่วยงานหา