ตัวแบบลีลาในการอำนวยความสะดวก (Faciltiation styles model)
นายจอห์น เฮรอน ได้ชี้ชัดความแตกต่างระหว่างปัจจัย 6 ประการที่ใช้วิเคราะห์ในปฏิสัมพันธ์ระหว่างลูกค้าและผู้สนับสนุนช่วยเหลือ เฮรอนได้นิยามคำว่าตัวแปรสอดแทรก (intervention)ว่าคือสิ่งที่กำหนดพฤติกรรมที่แสดงออกในทางคำพูดและ ที่ไม่ใช่การแสดงออกทางคำพูดซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของบริการของนักปฏิบัติการที่มีต่อลูกค้า (2001)
ประวัติจุดกำเนิดของกรอบความคิดลีลาการสนับสนุนช่วยเหลือ
จอห์น เฮรอนคือผู้บุกเบิกในการส่งเสริมของวิธีการวิจัยแบบมีส่วนร่วมสาขาวิชารัฐศาสตร์ เฮรอนเป็นผุ้มีชื่อเสียงในผลงานของเขาและเป็นผู้กำหนดลีลาการอำนวยความสะดวกในสองประเภทด้วยกน 6 ประการ
1. ตัวแปรสอดแทรกในอำนาจหน้าที่ (authoritative intervention) นักปฏิบติการใช้บทบาทที่โดดเด่นในบทบาทการสนับสนุนช่วยเหลือ การแสดงความรับผิดชอบในการประพฤติปฏิบัติต่อลูกค้า
1.1 ตัวแปรสอดแทรกเชิงพรรณา (prescriptive intervention) ลูกค้าทางตรงโดยการให้คำแนะนำและกำหนดทิศทาง
1.2 ตัวแปรสอดแทรกเชิงข้อมุลข่าวสาร (informative intervention) คือสิ่งแสวงหาในการให้ความรู้,ข้อมุลข่าวสาร และการให้ความสำคัญต่อลูกค้า โดยการให้คำแนะนำ
1.3 ตัวแปรสอดแทรกในการเผชิญหน้า (confronting intervention) สิ่งท้าทายพฤติกรรมหรือทัศนคติของลูกค้าจากการทบทวนป้อนกลับโดยตรง
2. ตัวแปรสอดแทรกในการอำนวยความสะดวก (facilitative intervention) นักปฏิบัติการแสวงหาลูกค้าที่กลับมามีความอิสระมากขึ้น และมีความรับผิดชอบต่อลูกค้ามากขึ้น
1.4 ตัวแปรสอดแทรกแบบระบายความรู้สึกนึกคิด (cathartic intervenion) ช่วยให้ลูกค้าได้แสดงออกและเอาชัยชนะต่อความคิดหรืออารมณ์ที่รุนแรง
1.5 ตัวแปรสอดแทรกที่เน้นขับเคลื่อน (catalytic intervention) ช่วยให้ลูกค้าในรับฟังคำวิจารณ์เพื่อนำมาปรับปรุง, เพื่อการค้นพบและเรียนรู้ มีการถามคำถาม
1.6 ตัวแปรสอดแทรกในทางสนับสนุนช่วยเหลือ (supportive intervention) สร้างความเชื่อมั่นต่อลูกค้า ยกย่องชมเชย, ให้คุณค่าและสนับสนุนลูกค้า
การนำลีลาแบบอำนวยความสะดวกไปประยุกต์ใช้
- ใช้เพื่อการเรียนรู้,การสอน, การจัดการความรู้
- การสอนงาน, การให้คำปรึกษา, การนั่งสมาธิ,การปรึกษา
จุดแข็งหรือข้อดีของการใช้รูปแบบลีลาการอำนวยความสะดวก
- ส่งเสริมความตื่นตัวของลีลาการช่วยเหลือเท่าที่เป็นไปได้ในปัจจุบัน
- สร้างกรอบความคิดในการสื่อสารและอภิปรายลีลาการสอนและการปรึกษา
- สามารถนำไปใช้ได้ทั้งระดับปัจเจกบุคคล และกลุ่ม
ข้อจำกัดหรือข้อเสียของกรอบความคิดในลีลาการอำนวยความสะดวก
- สามารถเปลี่ยนแปลงในการอำนวยความสะดวกที่มีรูปแบบที่อิสระซึ่งต้องการปรับพฤติกรรม,ค่านิยม และทักษะ
- จากนักบรรยายไปสู่นักอำนวยความสะดวก จากผู้ชำนาญการไปสู่ผู้ให้คำปรึกษา จากควบคุมไปสู่ความเสี่ยง จากโครงสร้างไปสู่ความสับสน
- ไม่ใช่ทุกคนที่จะเตรียมพร้อมในการสร้างหนทางที่ก้าวหน้าของการให้ความช่วยเหลือ "ฉันเพียงแต่ต้องการที่จะให้คุณบอกถึงสิ่งที่ต้องทำเดี๋ยวนี้"
สรุป การสนับสนุนช่วยเหลือมีความสำคัญต่อการทำงานเป็นทีมอย่างมาก โดยเฉพาะกลุ่มทีมีคุณลักษณะที่มีความหลากหลาย ซึงต้องสนับสนุนเช่นตามความคิดของ เจ.แวน มูริค ได้กำหนดมิติสี่มิติ
ได้แก่
ก. การสั่งการที่ใช้ปัญญา (intellectural command) กล่าวคือเน้นหาข้อเท็จจริง,ข้อมูล,ความคิดเห็นที่ชัดเจนมากกว่าการเข้าไปแทรกแซงการทำงานเป็นทีม สิ่งท้าทายคือการบรรจุความรู้,ความชำนาญที่ต้องการ
ข. การกระตุ้นให้กลุ่มมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ (Creative Group Catalyst) หมายถึงข้อมูล,ข้อเท็จจริงมีน้อยเท่าใด และมีระดับการแทรกแซงกลุ่มน้อย แนวทางนี้ใช้กับกลุ่มที่ต้องการแก้ปัญหาด้วยตัวของเขาเอง รู้จุดแข็งและจุดอ่อนด้วยต้วเอง ผู้สนับสนุนช่วยเหลือมีหน้าที่กระตุ้นให้มีความคิดสร้างสรรค์ และสร้างผลผลิต
ค. แนวทางสร้างสิ่งตอบแทน (incentive approach) ยิ่งมีระดับข้อมูลข่าวสารใส่บรรจุเท่าใด และมีการแทรกแซงในการมีปฏิสัมพันธ์ แนวทางนี้เหมาะสมกับกลุ่มที่มีพลังและความผูกพันที่ยังขาดแคลน ผู้กำกับช่วยเหลือมหนาที่วิเคราะหืสถานการณ์ และเคลือนไหวต่อกลุ่มในเชิงบวกและมีบรรยากาศที่ดี
ง. มีการสอนงานที่สนับสนุนช่วยเหลือ (supportive coach) ยิ่งมีข่าวสารข้อมูลน้อยเท่าใด และมีการบรรจุข้อมูลน้อยเช่นกัน แต่รวมผสมกันด้วยระดับการแทรกแซงในกระบวนกลุ่มที่สูงเท่าใด แนวทางนี้ใช้กับทีมงานที่ขาดความเชื่อมั่น ผู้สนับสนุนช่วยเหลือจำเป็นต้องวิเคราะห์และรับฟัง เขาจำเป็นต้องรู้ถึงวิธีการ และเมื่อมีการกระตุ้นสมาชิกกลุ่ม
ค.
ประวัติจุดกำเนิดของกรอบความคิดลีลาการสนับสนุนช่วยเหลือ
จอห์น เฮรอนคือผู้บุกเบิกในการส่งเสริมของวิธีการวิจัยแบบมีส่วนร่วมสาขาวิชารัฐศาสตร์ เฮรอนเป็นผุ้มีชื่อเสียงในผลงานของเขาและเป็นผู้กำหนดลีลาการอำนวยความสะดวกในสองประเภทด้วยกน 6 ประการ
1. ตัวแปรสอดแทรกในอำนาจหน้าที่ (authoritative intervention) นักปฏิบติการใช้บทบาทที่โดดเด่นในบทบาทการสนับสนุนช่วยเหลือ การแสดงความรับผิดชอบในการประพฤติปฏิบัติต่อลูกค้า
1.1 ตัวแปรสอดแทรกเชิงพรรณา (prescriptive intervention) ลูกค้าทางตรงโดยการให้คำแนะนำและกำหนดทิศทาง
1.2 ตัวแปรสอดแทรกเชิงข้อมุลข่าวสาร (informative intervention) คือสิ่งแสวงหาในการให้ความรู้,ข้อมุลข่าวสาร และการให้ความสำคัญต่อลูกค้า โดยการให้คำแนะนำ
1.3 ตัวแปรสอดแทรกในการเผชิญหน้า (confronting intervention) สิ่งท้าทายพฤติกรรมหรือทัศนคติของลูกค้าจากการทบทวนป้อนกลับโดยตรง
2. ตัวแปรสอดแทรกในการอำนวยความสะดวก (facilitative intervention) นักปฏิบัติการแสวงหาลูกค้าที่กลับมามีความอิสระมากขึ้น และมีความรับผิดชอบต่อลูกค้ามากขึ้น
1.4 ตัวแปรสอดแทรกแบบระบายความรู้สึกนึกคิด (cathartic intervenion) ช่วยให้ลูกค้าได้แสดงออกและเอาชัยชนะต่อความคิดหรืออารมณ์ที่รุนแรง
1.5 ตัวแปรสอดแทรกที่เน้นขับเคลื่อน (catalytic intervention) ช่วยให้ลูกค้าในรับฟังคำวิจารณ์เพื่อนำมาปรับปรุง, เพื่อการค้นพบและเรียนรู้ มีการถามคำถาม
1.6 ตัวแปรสอดแทรกในทางสนับสนุนช่วยเหลือ (supportive intervention) สร้างความเชื่อมั่นต่อลูกค้า ยกย่องชมเชย, ให้คุณค่าและสนับสนุนลูกค้า
การนำลีลาแบบอำนวยความสะดวกไปประยุกต์ใช้
- ใช้เพื่อการเรียนรู้,การสอน, การจัดการความรู้
- การสอนงาน, การให้คำปรึกษา, การนั่งสมาธิ,การปรึกษา
จุดแข็งหรือข้อดีของการใช้รูปแบบลีลาการอำนวยความสะดวก
- ส่งเสริมความตื่นตัวของลีลาการช่วยเหลือเท่าที่เป็นไปได้ในปัจจุบัน
- สร้างกรอบความคิดในการสื่อสารและอภิปรายลีลาการสอนและการปรึกษา
- สามารถนำไปใช้ได้ทั้งระดับปัจเจกบุคคล และกลุ่ม
ข้อจำกัดหรือข้อเสียของกรอบความคิดในลีลาการอำนวยความสะดวก
- สามารถเปลี่ยนแปลงในการอำนวยความสะดวกที่มีรูปแบบที่อิสระซึ่งต้องการปรับพฤติกรรม,ค่านิยม และทักษะ
- จากนักบรรยายไปสู่นักอำนวยความสะดวก จากผู้ชำนาญการไปสู่ผู้ให้คำปรึกษา จากควบคุมไปสู่ความเสี่ยง จากโครงสร้างไปสู่ความสับสน
- ไม่ใช่ทุกคนที่จะเตรียมพร้อมในการสร้างหนทางที่ก้าวหน้าของการให้ความช่วยเหลือ "ฉันเพียงแต่ต้องการที่จะให้คุณบอกถึงสิ่งที่ต้องทำเดี๋ยวนี้"
สรุป การสนับสนุนช่วยเหลือมีความสำคัญต่อการทำงานเป็นทีมอย่างมาก โดยเฉพาะกลุ่มทีมีคุณลักษณะที่มีความหลากหลาย ซึงต้องสนับสนุนเช่นตามความคิดของ เจ.แวน มูริค ได้กำหนดมิติสี่มิติ
ได้แก่
ก. การสั่งการที่ใช้ปัญญา (intellectural command) กล่าวคือเน้นหาข้อเท็จจริง,ข้อมูล,ความคิดเห็นที่ชัดเจนมากกว่าการเข้าไปแทรกแซงการทำงานเป็นทีม สิ่งท้าทายคือการบรรจุความรู้,ความชำนาญที่ต้องการ
ข. การกระตุ้นให้กลุ่มมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ (Creative Group Catalyst) หมายถึงข้อมูล,ข้อเท็จจริงมีน้อยเท่าใด และมีระดับการแทรกแซงกลุ่มน้อย แนวทางนี้ใช้กับกลุ่มที่ต้องการแก้ปัญหาด้วยตัวของเขาเอง รู้จุดแข็งและจุดอ่อนด้วยต้วเอง ผู้สนับสนุนช่วยเหลือมีหน้าที่กระตุ้นให้มีความคิดสร้างสรรค์ และสร้างผลผลิต
ค. แนวทางสร้างสิ่งตอบแทน (incentive approach) ยิ่งมีระดับข้อมูลข่าวสารใส่บรรจุเท่าใด และมีการแทรกแซงในการมีปฏิสัมพันธ์ แนวทางนี้เหมาะสมกับกลุ่มที่มีพลังและความผูกพันที่ยังขาดแคลน ผู้กำกับช่วยเหลือมหนาที่วิเคราะหืสถานการณ์ และเคลือนไหวต่อกลุ่มในเชิงบวกและมีบรรยากาศที่ดี
ง. มีการสอนงานที่สนับสนุนช่วยเหลือ (supportive coach) ยิ่งมีข่าวสารข้อมูลน้อยเท่าใด และมีการบรรจุข้อมูลน้อยเช่นกัน แต่รวมผสมกันด้วยระดับการแทรกแซงในกระบวนกลุ่มที่สูงเท่าใด แนวทางนี้ใช้กับทีมงานที่ขาดความเชื่อมั่น ผู้สนับสนุนช่วยเหลือจำเป็นต้องวิเคราะห์และรับฟัง เขาจำเป็นต้องรู้ถึงวิธีการ และเมื่อมีการกระตุ้นสมาชิกกลุ่ม
ค.
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น