11 วิธีในการสร้างทีมงานได้อย่างมีประสิทธิผล
การเสริมสร้างความแข็งแกร่งของทีมงานในสำนักงานมักจะตอบสนองในด้านความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียว, มีผลผลิตที่ดีและพนักงานมีความพึงพอใจ การสร้างเป้าหมายของทีมงาน,การระบุอย่างแจ่มชัดถึงบทบาทของพนักงานและความรับผิดชอบโดยจัดให้มีการประชุมทีมงานอยู่เป็นประจำ และจัดกลุ่มกิจกรรมทางสังคมเป็นวิธีที่เพิ่มความแน่นแฟ้นของทีม ต่อไปนี้เป็นกลยุทธ์ในการสร้างทีมงานในสำนกงานดังนี้
ก. จงเข้าใจในทีมงานมีความเป็นพลวัตร
1.1 จงประเมินพลวัตรสำนักงานอยู่เป็นประจำ จดจ้องสัญญาของทีมงานที่ล้มเหลวจากประจักษ์พยานจากเสียงบ่นจากบุคลากรหรือลูกค้า, ผลผลิตลดลง,ความขัดแย้งระหว่างสมาชิกหรือการมีส่วนร่วมในการประชุมตามปรกติลดน้อยลง
ใช้ท่าทีสังเกตทัศนคติและความเชื่อในปัจจุบันในหมู่พนักงานในสำนักงาน, ตัวอย่างเช่น
สมาชิกของทีมบางคนอาจเชื่อว่าการทำงานร่วมกันจะยับยั้งความคิดสร้างสรรค์หรือที่สอดแทรกกับความก้าวหน้าส่วนบุคคล
1.2. การสร้างความคุ้นเคยกับสัญญาลักขณ์ของทีมงานที่มีประสิทธิผล การแก้ปัญหาความร่วมมือ,สมาชิกของกลุ่มที่ได้รับแรงจูงใจ, การสื่อสารแบบเปิดเผยระหว่างสมาชิก, นวัตกรรมที่ยิ่งใหญ่กว่าและผลผลิตที่เพิ่มขึ้นเป็นสองสามตัวอย่าง
ข. การระบุเป้าหมายของทีมงานและบทบาทของแต่ละบุคคล
1.3 การกำหนดเป้าหมายการสร้างงานเป็นทีม สิ่งเหล่านี้ควรจะเป็นวัตถุประสงค์ที่ได้ประโยชน์ทั้งองค์การและสมาชิกทีมงานแต่ละทีม ตัวอย่างเช่น เป้าหมายของคนงานสำนักงานอาจจะทำงานให้สำเร็จได้อย่างรวดเร็ว และถูกต้องอย่างถูกต้องเพื่อที่จะตรงต่อเวลาในแต่ละวัน
1.4 การแยกแยะบทบาทของแต่ละบุคคล การระบุงานในหน้าที่และความรับผิดชอบของสมาชิกแต่ละทีมเพื่อช่วยการลดความขัดแย้งและการสื่อสารผิดพลาดอย่างน้อยที่สุด
ค.การติดตามผลการประชุมทีมงานและการเข้าร่วมทางสังคม
1.5 การกำหนดการประชุมทีมงานตามปรกติ การมีส่วนร่วมในการประชุมที่ต้องการ ที่อาจจะเกิดขึ้นรายสัปดาห์หรื่อรายสองสัปดาห์
- ส่งเสริมบรรยากาศที่ขับเคี่ยวในการติดต่อสื่อสารที่ต้องการในการประชุม ทำหน้าที่บริการเป็นตัวอย่างโดยการรับฟังข้อเสนอแนะ, สิ่งที่เกี่ยวข้องและคำถามจากสมาชิกทีมงาน การสร้างความเชื่อถือไว้วางใจในวิถีทางที่ยินยอมให้คนอื่นสื่อสารอย่างเปิดเผยในความคิดและสิ่งท้าทาย
- สร้างข้อตกลงพร้อมใจในการประชุมในประเด็นสำคัญ เมื่อการตัดสินใจที่สำคัญจะต้องกระทำ
ไต่ถามสำหรับบรรจุสมาชิกทีมงานในสำนักงาน มาถึงการตัดสินใจโดยการกำหนดข้อตกลงยินยอมพร้อมใจและการโหวตเสียงที่สาระที่สำคัญ
- รักษาขอบเขตการประชุมที่สามารถจัดการได้ "การสร้างทีมงานเป็นรูปแบบที่ง่ายในการบรรลุในกลุ่มเล็กของ 3-6 คนที่เล็กกว่ากลุ่มใหญ่ที่มีพนักงานสำนักงาน 20-30 คน
1.6 วางแผนการรวมตัวทางสังคมในสำนักงาน การกินอาหารว่างทุกสองสัปดาห์หรือการสั่งพิซซ่าทุกสัปดาห์จะเป้นการยินยอมให้พนักงานได้ผ่อนคลายและทำให้ได้รู้จักพนักงานคนอื่น ๆ
ง. การอำนวยความสะดวกในการทดสอบและกิจกรรมของทีม
1.7 การเลือกสรรแบบทดสอบการสร้างทีมงานได้อย่างเหมาะสม ตัวอย่างเช่น สมาชิกทีมสามารถจับคู่เพื่อได้รู้จักกันและมีการแนะนำตัวซึ่งกันและกันต่อกลุ่ม, ให้ความสำคัญในด้านความเข้มแข็งและความสนใจ แบบทดสอบการสร้างทีมงานควรจะมีการเน้นไปในเชิงบวก, เพิ่มความเชื่ือถือไว้วางใจกัน และการดึงเอาศักยภาพของแต่ละคนมาใช้
1.8 การส่งเสริมสมาชิกสำนักงานในการสอนทักษะและแบ่งปันข้อมูลข่าวสารกับคนอื่น ในบัางสำนักงาน ตัวบุคลากร, โดยยึดถือข้อมูลสำคัญที่เป็นการรักษาอำนาจหรือความก้าวหน้าในอาชีพ การกำหนดสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัยที่แบ่งปันคุณค่าและความร่วมมือ
จงให้รางวัลกับทีมทั้งหมด เมื่อสมาชิกทีมได้ทำงานร่วมกันอย่างประสบความสำเร็จ จงให้รางวัลแก่การทำงานร่วมกันด้วยโบนัส, อาหารกลางวันฟรี, การลดเวลาหรือการยกย่องชมเชย
จ. จงใช้ปัญหาเป็นโอกาสต่อการสร้างทีมงานที่แข็งแกร่ง
1.9 การส่งเสริมบุคคลในทีมได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนบทบาทต่าง ๆ กัน การอภิปรายที่มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการส่งมอบรายงานหรือการเป็นสื่อกลางแก้ข้อขัดแย้งที่สามารถทำให้งานสำเร็จโดยบุคคลที่มีความแตกต่างกันในเวลาที่แตกต่างกัน โดยยินยอมให้ทุกคนได้มีการพัฒนาทักษะเหล่านี้และการได้ประโยชน์จากความเข้าใจในสิ่งท้าทายการทำงานเป็นทีม
1.10 มอบหมายงานในหน้าที่ในการวิจัยประเด็นปัญหา หากบริษัทหรือสำนักงานที่เกี่ยวข้องสิ่งท้าทายต่ออุปสรรค, มอบหมายให้กลุ่มบุคคลในการวิจัยเนื้อหาสาระและแสดงข้อค้นพบในกลุ่มที่ใหญ่กว่า
1.11 กำหนดการจำกัดเวลาเพื่อการตัดสินใจ การส่งเสริมสมาชิกทีมในการทำงานร่วมกันภายในกรอบเวลาที่วางไว้ การทดสอบประเด็นปัญหาทั้งสาเหตุและแนวทางแก้ปัญหา และการแก้ปัญหาโดยข้อตกลงยินยอม
สรุป การทำงานเป็นทีมเป็นปัจจัยแห่งความสำเร็จ ที่ต้องอาศัยพลังความคิดร่วมกัน และการให้โอกาสมีส่วนร่วม หรือการแบ่งปันความคิด,ข้อมุูล, บทบาทหน้าที่ที่มีการแลกเปลี่ยนตามความสามารถ และกิจกรรมที่กระทำร่วมกัน หรือกิจกรรมพิเศษ เป็นต้น
ก. จงเข้าใจในทีมงานมีความเป็นพลวัตร
1.1 จงประเมินพลวัตรสำนักงานอยู่เป็นประจำ จดจ้องสัญญาของทีมงานที่ล้มเหลวจากประจักษ์พยานจากเสียงบ่นจากบุคลากรหรือลูกค้า, ผลผลิตลดลง,ความขัดแย้งระหว่างสมาชิกหรือการมีส่วนร่วมในการประชุมตามปรกติลดน้อยลง
ใช้ท่าทีสังเกตทัศนคติและความเชื่อในปัจจุบันในหมู่พนักงานในสำนักงาน, ตัวอย่างเช่น
สมาชิกของทีมบางคนอาจเชื่อว่าการทำงานร่วมกันจะยับยั้งความคิดสร้างสรรค์หรือที่สอดแทรกกับความก้าวหน้าส่วนบุคคล
1.2. การสร้างความคุ้นเคยกับสัญญาลักขณ์ของทีมงานที่มีประสิทธิผล การแก้ปัญหาความร่วมมือ,สมาชิกของกลุ่มที่ได้รับแรงจูงใจ, การสื่อสารแบบเปิดเผยระหว่างสมาชิก, นวัตกรรมที่ยิ่งใหญ่กว่าและผลผลิตที่เพิ่มขึ้นเป็นสองสามตัวอย่าง
ข. การระบุเป้าหมายของทีมงานและบทบาทของแต่ละบุคคล
1.3 การกำหนดเป้าหมายการสร้างงานเป็นทีม สิ่งเหล่านี้ควรจะเป็นวัตถุประสงค์ที่ได้ประโยชน์ทั้งองค์การและสมาชิกทีมงานแต่ละทีม ตัวอย่างเช่น เป้าหมายของคนงานสำนักงานอาจจะทำงานให้สำเร็จได้อย่างรวดเร็ว และถูกต้องอย่างถูกต้องเพื่อที่จะตรงต่อเวลาในแต่ละวัน
1.4 การแยกแยะบทบาทของแต่ละบุคคล การระบุงานในหน้าที่และความรับผิดชอบของสมาชิกแต่ละทีมเพื่อช่วยการลดความขัดแย้งและการสื่อสารผิดพลาดอย่างน้อยที่สุด
ค.การติดตามผลการประชุมทีมงานและการเข้าร่วมทางสังคม
1.5 การกำหนดการประชุมทีมงานตามปรกติ การมีส่วนร่วมในการประชุมที่ต้องการ ที่อาจจะเกิดขึ้นรายสัปดาห์หรื่อรายสองสัปดาห์
- ส่งเสริมบรรยากาศที่ขับเคี่ยวในการติดต่อสื่อสารที่ต้องการในการประชุม ทำหน้าที่บริการเป็นตัวอย่างโดยการรับฟังข้อเสนอแนะ, สิ่งที่เกี่ยวข้องและคำถามจากสมาชิกทีมงาน การสร้างความเชื่อถือไว้วางใจในวิถีทางที่ยินยอมให้คนอื่นสื่อสารอย่างเปิดเผยในความคิดและสิ่งท้าทาย
- สร้างข้อตกลงพร้อมใจในการประชุมในประเด็นสำคัญ เมื่อการตัดสินใจที่สำคัญจะต้องกระทำ
ไต่ถามสำหรับบรรจุสมาชิกทีมงานในสำนักงาน มาถึงการตัดสินใจโดยการกำหนดข้อตกลงยินยอมพร้อมใจและการโหวตเสียงที่สาระที่สำคัญ
- รักษาขอบเขตการประชุมที่สามารถจัดการได้ "การสร้างทีมงานเป็นรูปแบบที่ง่ายในการบรรลุในกลุ่มเล็กของ 3-6 คนที่เล็กกว่ากลุ่มใหญ่ที่มีพนักงานสำนักงาน 20-30 คน
1.6 วางแผนการรวมตัวทางสังคมในสำนักงาน การกินอาหารว่างทุกสองสัปดาห์หรือการสั่งพิซซ่าทุกสัปดาห์จะเป้นการยินยอมให้พนักงานได้ผ่อนคลายและทำให้ได้รู้จักพนักงานคนอื่น ๆ
ง. การอำนวยความสะดวกในการทดสอบและกิจกรรมของทีม
1.7 การเลือกสรรแบบทดสอบการสร้างทีมงานได้อย่างเหมาะสม ตัวอย่างเช่น สมาชิกทีมสามารถจับคู่เพื่อได้รู้จักกันและมีการแนะนำตัวซึ่งกันและกันต่อกลุ่ม, ให้ความสำคัญในด้านความเข้มแข็งและความสนใจ แบบทดสอบการสร้างทีมงานควรจะมีการเน้นไปในเชิงบวก, เพิ่มความเชื่ือถือไว้วางใจกัน และการดึงเอาศักยภาพของแต่ละคนมาใช้
1.8 การส่งเสริมสมาชิกสำนักงานในการสอนทักษะและแบ่งปันข้อมูลข่าวสารกับคนอื่น ในบัางสำนักงาน ตัวบุคลากร, โดยยึดถือข้อมูลสำคัญที่เป็นการรักษาอำนาจหรือความก้าวหน้าในอาชีพ การกำหนดสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัยที่แบ่งปันคุณค่าและความร่วมมือ
จงให้รางวัลกับทีมทั้งหมด เมื่อสมาชิกทีมได้ทำงานร่วมกันอย่างประสบความสำเร็จ จงให้รางวัลแก่การทำงานร่วมกันด้วยโบนัส, อาหารกลางวันฟรี, การลดเวลาหรือการยกย่องชมเชย
จ. จงใช้ปัญหาเป็นโอกาสต่อการสร้างทีมงานที่แข็งแกร่ง
1.9 การส่งเสริมบุคคลในทีมได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนบทบาทต่าง ๆ กัน การอภิปรายที่มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการส่งมอบรายงานหรือการเป็นสื่อกลางแก้ข้อขัดแย้งที่สามารถทำให้งานสำเร็จโดยบุคคลที่มีความแตกต่างกันในเวลาที่แตกต่างกัน โดยยินยอมให้ทุกคนได้มีการพัฒนาทักษะเหล่านี้และการได้ประโยชน์จากความเข้าใจในสิ่งท้าทายการทำงานเป็นทีม
1.10 มอบหมายงานในหน้าที่ในการวิจัยประเด็นปัญหา หากบริษัทหรือสำนักงานที่เกี่ยวข้องสิ่งท้าทายต่ออุปสรรค, มอบหมายให้กลุ่มบุคคลในการวิจัยเนื้อหาสาระและแสดงข้อค้นพบในกลุ่มที่ใหญ่กว่า
1.11 กำหนดการจำกัดเวลาเพื่อการตัดสินใจ การส่งเสริมสมาชิกทีมในการทำงานร่วมกันภายในกรอบเวลาที่วางไว้ การทดสอบประเด็นปัญหาทั้งสาเหตุและแนวทางแก้ปัญหา และการแก้ปัญหาโดยข้อตกลงยินยอม
สรุป การทำงานเป็นทีมเป็นปัจจัยแห่งความสำเร็จ ที่ต้องอาศัยพลังความคิดร่วมกัน และการให้โอกาสมีส่วนร่วม หรือการแบ่งปันความคิด,ข้อมุูล, บทบาทหน้าที่ที่มีการแลกเปลี่ยนตามความสามารถ และกิจกรรมที่กระทำร่วมกัน หรือกิจกรรมพิเศษ เป็นต้น
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น