บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก พฤศจิกายน, 2011

สิ่งที่แอบอ้างความชอบธรรมในทางผิด ๆ

ในด้านประชาชน     "ประชาชนยากจน เป็นคนไร้การศึกษาหรือเป็นคนโง่"     คำถาม  "ทำไมรัฐบาลไม่ทำให้เขาฉลาด หากราษฎรโง่แล้วคนที่มีโอกาสเป็นรัฐบาลทำไมไม่ทำให้เขาฉลาด    "ประชาชนถูกชักจูงง่าย ซื้อง่าย เชื่อง่าย"     คำถาม "ทำไมประชาชนจำนวนมากถึงชอบเพราะเหตุใด"    "ประชาชนได้แต่เรียกร้อง แต่ไม่ทำหน้าที่ของตนเอง หรือไม่รักษาประเทศชาติ"    คำถาม "เมื่อประชาชนเป็นจำนวนมากออกมาคัดค้านอำนาจรัฐที่ไม่ได้มาอย่างถูกต้อง ไม่ใช่เป็นการทำหน้าที่รักษาประชาธิปไตยหรือ และคำว่าประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศมิใช่เป็นชาติหรือ หรือคำว่่าชาติเป็นคำพูดลอย ๆ ไม่เชื่อมโยงกับประชาชนใช่ใหม? ในด้านฝ่ายค้าน       "ประชาชนบางกลุ่มมักทำเพื่อคนคนเดียว " คำถาม  "ไม่คิดหรือว่าประชาชนเขาทำเพื่อเขาเอง เพียงแต่ว่่าบุคคลคนเดียวนั้นอาจทำประโยชน์ให้กับประชาชน จึงทำให้เขายอมรับความเป็นผู้นำใช่หรือไม่?     "พวกที่ออกมาเรียกร้องรัฐธรรมนูญ หรือเรียกร้องประชาธิปไตย เป้นผู้ก่อการร้าย" คำถาม "คนที่แสดงความคิดเห็นแตกต่าง หรือมี...

กลอนเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ตอน่ที่ 51

         การปรับโครงสร้างองค์การการทำงาน    เป้าหมายการบริหารสมัยใหม่ ตอบสนองเศรษฐกิจฐานความรู้ไซร้                ในภายใต้การแข่งขันทวีคูณ ในสังคมข่าวสารข้อมูลพลวัตร                       อันอุ่บัติในปีสองศูนย์หนึ่งศูนย์ เพื่อเป้าหมายอียูเพื่อเพิ่มพูน                       ที่เทิดทูนกลยุทธ์ลิสบอน         จากแผนปฏิบัติที่เกื้้อกูล                      ที่ค้ำคูณกฎเกณฑ์บริการกัน ในพลเมืองและเพิ่มผลิตภัณฑ์                      เพื่อประกันสร้างสรรค์เศรษฐกิจ กุญแจสำคัญรื้อปรับของโครงสร้าง      ...

รัฐบาลเงา หรือรัฐบาลสองนครา

                         หากประเทศใดที่มีการปกครองแบบรัฐซ้อนรัฐนั้น หากกระทำไปในแง่บวกก็จะเป็นตัวช่วยที่ดีในการบริหารกิจการบ้านเมือง  แต่หากว่ารัฐซ้อนรัฐนั้นกระทำเพืยงเพื่อหวังผลทางอำนาจนั้นก็จะเป็นการบริหารงานแบบชิงด้ามจับทัพพี    รัฐบาลที่ได้อำนาจมาจากประชาชนหรือเป็นระบบประชาธิปไตย ผู้บริหารรัฐควรมีอำนาจเต็มในการบริหารกิจการบ้านเมือง ไม่มีการแทรกแซงอำนาจรัฐ ไม่ว่าจะกระทำการเปลี่ยนแปลงใด ๆ ก็ตามก็ย่อมเป็นสิทธิและการใช้อำนาจอย่างชอบธรรม เพราะเราคงมองรัฐบาลที่ผลงานมากกว่่าการยึดติดที่ตัวบุคคล  การบริหารรัฐบาลที่มีลักษณะขั้วอำนาจสองขั้วอำนาจ คืออำนาจของประชาชนกับอำนาจที่ซ่อนเร้นหรืออำนาจแฝงเร้นที่เข้ามาแทรกแซงกิจการบ้านเมือง แลเะไม่ยอมรับความชอบธรรมของเสียงประชาชนก็ย่่อมแสดงว่าบุคคลที่มีความคิดเช่นนั้นเป็นบุคคลที่ไม่ได้รักประชาธิปไตย หรือไม่ได้ถือประโยชน์ของราษฎรเป็นสิ่งสำคัญกว่าระบบอำนาจแบบคณาธิปไตยหรืออภิชนาธิปไตย  ซึ่งเป็นการต่อสู้ของอำนาจระบบคุณธรรมตามระบบประชาธิปไตยกับการต่อสู...