บทความ

กลวิธีการเปลี่ยนแปลงองค์การทางการเมือง เพื่อความสัมฤทธิผล

         ปัจจุบันการเคลื่อนไหวเพื่อการเ ปลี่ยนแปลงรัฐธรรมนูญ ถือเป็นเพียงส่วนหนึ่งของตัวบทก ฎหมายที่สำคัญสูงสุดในการปกครอง ประเทศ หากรัฐธรรมนุญที่ได้มีการเปลี่ย นแปลงในลักษณะที่เจือปนในสิ่งที่ มิใช่ความต้องการของประชาชนส่ว นใหญ่ย่อมเกิดปัญหาในลักษณะของก ารเรียกร้องที่ไม่มีการสิ้นสุด ดังนั้นผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่สำ คัญในปกครอง จำเป็นต้องมีแนวทางตามที่ Kotter 1995 ที่ผู้นำมักละเลย,มองข้าม หรือประเมินต่ำกว่าความเป ็นจริงนั้น ได้แก่ ปัจจัยที่ 1 ต้องมั่นใจว่าความต้องการเปลี่ย นแปลงของผู้นำบริหารนั้น จะต้องมีการพิสูจน์ และมีการสื่อสารชักชวนความต้องก ารการเปลี่ยนแปลงนั้น ๆ ปัจจัยที่ 2 มีการจัดสรรแผนงาน, ผู้นำบริหารจะต้องปรับปรุงทางเล ือกหรือกลยูทธ์เพื่อการเปลี่ยนแ ปลงนั้น ๆ ปัจจัยที่ 3 จะต้องสร้างแรงสนับสนุนและเอาชน ะการต่อต้านการเปลี่ยนแปลง ผู้นำบริหารจะต้องสร้างแรงสนับส นุนภายในและลดแรงต่อต้านในการเปลี่ยนแปลงโดยผ่านการมีส่วนร่วมอย่างแพร่หลายในกระบวนการเปลี่ยนแ ปลง ในท่ามกลางปัจจัยอื่น ๆ ที่นำไปสู่ความสำเร็จ ปัจจัยที่ 4 จะต้องสร้างความมั่นใจว่าแรงสนั บสนุนจากผู้บริหารระดับสูง ความผูกพันของบ

วิวาทะจำลองระหว่างดไว้ท์ วอลโด กับเฮอร์เบอร์ต เอ.ไซมอนเกี่ยวกับการบริหารในเชิงรัฐประศาสนศาสตร์

        Dwight Waldo เป็นนักวิชาการสายรัฐศาสตร์ (ตั้งแต่ปี ค.ศ.1913-2000) เป็นผู้ให้คำนิยามของการบริหารภาครัฐสมัยใหม่  เขาเป็นผู้ต่อต้านแนวคิดระบบราชการที่เน้นเทคนิคหรือวิทยาศาสตร์ และรัฐบาลที่เน้นใช้คำว่าการจัดการภาครัฐแทนที่จะเป็นรัฐประศาสนศาสตร์        จากตำราของเขาที่ชื่อว่า "Administrative State" (รัฐบริหาร) เขาเป็นนักวิชาการที่มีแนวคิดในการโหมกระแสรัฐประศาสนศาสตร์อย่างท้าทายในยุคนั้น  ประการแรกเขามีทัศนะว่ารัฐประศาสนศาสตร์ ปลอดจากค่านิยม (หมายถึงเน้นข้อเท็จจริง),ไม่เล่นพรรคเล่นพวก, เป็นสาขาสังคมศาสตร์ทีให้คำสัญญาว่าจะทำให้ภาครัฐมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล   ประการที่สองเป็นเรื่องสำคัญมาก เขาโต้แย้งว่านักวิชาการสายบริหารได้รับแรงขับเคลื่อนจากปรัชญาทางการเมือง  ประเด็นปัญหาสำคัญของปรัชญาทางการเมืองก็คือ        1. โดยธรรมชาติมนุษย์ต้องการมีชีวิตที่ดีกว่า (Good Life) เป็นวิสัยทัศน์ที่ต้องการสังคมที่ดี        2. กฎเกณฑ์ของการปฏิบัติ หรือวิธีการปฏิบัติที่จะต้องมีการตัดสินใจร่วมกัน        3. ปัญหานั้นก็คือว่าใครควรเป็นคนถือกฎนี้        4. คำถามก็คือว่าอำนาจรัฐควรจะแบ่งแย

วิธีลดความอ้วนอย่างรวดเร็ว ของไจแอน รูนี่ย์ นักกีฬาโอลิมปิคส์ระดับโลก

        ไจแอนน์ รูนี่ย์ ได้พูดกับเคต มีนอกี เกี่ยวกับแสวงหาความสุขและสุขภา พของหล่อนหลังเกษียณอายุ สุขภาพของดิฉันดีขึ้นมากในขณะนี ้เมื่อดิฉันได้ว่ายน้ำ เมื่อมีการโยนตัวลงในระดับสูงทุ กวัน ไม่ใช่มีสุขภาพดี แต่ระบบภูมิคุ้มกันมักอยู่ภายใต ความเครียด ทางด้านจิตใจ ดิฉันยังรู้สึกดีขึ้นกว่า ดิฉันพบว่ามันเป็นการง่ายในการม องโลกในแง่บวก ลุกจากเตียงง่ายขึ้น ดิฉันมองไปที่งานและมองไปที่สิ่ งที่ทำ ซึ่งเป็นการทำให้มีการเขยิบก้าว ไปดีขึ้น          ดิฉันไม่รู้ว่าชีวิตทีดีควรเป็น เช่นใด จนกระท่งดิฉันเกษียณจากการว่ายน ้ำ เมื่อดิฉันกำลังว่ายน้ำ ดินฉันจะมีทัศนคติที่ลดต่ำลง ดิฉันไม่คิดว่ากีฬาใดที่กล่าว่ว ่าเช่นนั้นไม่ได้เป็นเช่นนั้น พวกเขาเป็นเวลาที่คุณถามตัวคุณเ องในสิ่งที่คุณกำลังจะทำ          การว่ายน้ำเป็นเรื่องยากเพราะจะ มีการแข่งขันปีละครั้ง และเป็นส่ิ่งทีดิฉันชอบ ดังนั้นมันก็ยุ่งยากที่จะรักษาก ารสร้างแรงจูงใจ ดิฉนคงไม่ต้องร้องเรียนในสิ่งที ่ดิฉันรู้สึกว่ากดดัน แต่ดิฉันเรียกร้องในสิ่งที่เร่า ร้อนอย่างมาก          ดิฉันต้องดูแลในสิ่งที่รับประทา นอาหาร สิ่งนี้เป็นสิ่งสนุกสนานซึ่งเป็ นส่วนหนึ่งสำหรับฉั

กฎบัตรขององค์การ (corporate charter)

                          กฎบัตรขององค์การความหมายคือ   สิ่งยึดถือเอกสารการเตรียมการ                  ในรูปแบบธุรกิจเป็นพื้นฐาน                        ซึ่งจัดการบริษัทควบคุมงาน                  สิ่งปรกติเกิดขึ้นนั้นดังเช่น                          ที่เรียกเป็นชื่อ,รูปแบบขององค์การ                         เป็นสถานที่ธุรกิจการทำงาน                      ที่เรียกขานเป้าหมาย,ภารกิจ                          และเป้าหมายวัตถุประสงค์งาน           มีจัดการใช้สิทธิในการโหวต                  รวมกฎเกณฑ์,อำนาจบทลงโทษ                เป็นประโยชน์ใช้กลไกการป้องปัด                  เพื่อต่อต้านสิ่งที่มาเข้าครอบครอง             มุ่งหมายปองเป็นองค์การธรรมรัฐ                      มีการแบ่งเป็นขีดขั้นตามพิกัด                     จึงเรียกชัดกฎบัตรขององค์การ                                                 

ความแตกต่างของระบบพรรคการเมืองไทย

ความแตกต่างระหว่างสองพรรคการเมืองไทย            พรรคฝ่ายค้าน                                    พรรครัฐบาล 1.      เป็นตัวแทนอำมาตย์เป็นหลัก                             1. เป็นตัวแทนคนรากหญ้าเป็นหลัก 2.      มีแนวคิดอนุรักษ์นิยม                                        2. มีแนวคิดเชิงก้าวหน้า 3.      ผู้นำมักเป็นทนายความเก่งกฎหมาย                    3. ผู้นำมักเก่งทางด้านธุรกิจการค้า 4.      มีความสามารถในการคัดค้าน,คารมดี                 4. มีความสามารถในการทำงาน,ไม่ชอบค้าน 5.      มักเป็นตัวแทนคนกรุงเทพกับทางภาคใต้              5. มักเป็นตัวแทนของภาคกลาง,อีสาน,ภาคเหนือ 6.      ชอบใช้ตัวช่วยที่มีอำนาจนอกระบบเช่น             6. อาศัยประชาชนรากหญ้าเป็นฐาน และผู้ที่มี องค์กรอิสระ,ทหาร,ตุลาการ,ทุนเก่า ฯลฯ                 รักความยุติธรรม 7.      ทำงานสร้างภาพเก่ง,พูดโต้แย้งเก่ง                      7. ทำงานจริง,พูดน้อย,ทำมาก 8.      เน้นประชาธิปไตยที่ไม่ยึดโยงประชาชน                8. เน้นประชาธิปไตยที่ยึดโยงประชาชน 9.      เน้นผลประโยชน์ของพรรคมากกว่าประชาชน