ความแตกต่างของระบบพรรคการเมืองไทย

ความแตกต่างระหว่างสองพรรคการเมืองไทย
          พรรคฝ่ายค้าน                                    พรรครัฐบาล
1.     เป็นตัวแทนอำมาตย์เป็นหลัก                            1. เป็นตัวแทนคนรากหญ้าเป็นหลัก
2.     มีแนวคิดอนุรักษ์นิยม                                       2. มีแนวคิดเชิงก้าวหน้า
3.     ผู้นำมักเป็นทนายความเก่งกฎหมาย                   3. ผู้นำมักเก่งทางด้านธุรกิจการค้า
4.     มีความสามารถในการคัดค้าน,คารมดี                4. มีความสามารถในการทำงาน,ไม่ชอบค้าน
5.     มักเป็นตัวแทนคนกรุงเทพกับทางภาคใต้             5. มักเป็นตัวแทนของภาคกลาง,อีสาน,ภาคเหนือ
6.     ชอบใช้ตัวช่วยที่มีอำนาจนอกระบบเช่น            6. อาศัยประชาชนรากหญ้าเป็นฐาน และผู้ที่มี
องค์กรอิสระ,ทหาร,ตุลาการ,ทุนเก่า ฯลฯ               รักความยุติธรรม
7.     ทำงานสร้างภาพเก่ง,พูดโต้แย้งเก่ง                      7. ทำงานจริง,พูดน้อย,ทำมาก
8.     เน้นประชาธิปไตยที่ไม่ยึดโยงประชาชน               8. เน้นประชาธิปไตยที่ยึดโยงประชาชน
9.     เน้นผลประโยชน์ของพรรคมากกว่าประชาชน       9. เน้นผลประโยชน์ของประชาชนมากกว่าพรรค
10.  ชอบล้มอำนาจของประชาชน                           10. ส่งเสริมให้ประชาชนมีอำนาจมากขึ้น
11.   ใช้อิทธิพลการเมืองครอบงำการเมือง               11.ใช้อิทธิพลการเมืองเปิดเผยข้อเท็จจริงให้
(ใช้อำนาจนิยม)                                                    กับประชาชน
 12. มีความรู้ทางวิชาการดี, เก่งทฤษฎีไม่              12.เก่งปฏิบัติ,ประสบการณ์ในทางปฏิบัติ ทำงาน
       เก่งปฏิบัติ ทำงานแบบตั้งรับ                                    แบบเชิงรุก
 13. ใช้ฐานคนชั้นกลางรักษาอำนาจเพราะ            13. ใช้ฐานคนรากหญ้า,คนจนแบบประชานิยม
        ระบบอุปถัมภ์ค้ำจุน,มองแต่ผลประโยชน์                เพื่อให้โอกาสคนจนที่ถูกเอาเปรียบมายาว
        ส่วนตัว                                                                  นาน
 14. สนับสนุนสถาบันมหาวิทยาลัยไม่สนใจการเมือง 14. สนับสนุนสถาบันการศึกษาของภาคประชาชน
        ไม่สนใจรับใช้ประชาชนแต่รับใช้อำมาตย์                  ให้ความรู้ประชาธิปไตย
        ด้วยระบบราชการที่ทำให้คนเป็นยอมรับใช้ชนชั้นสูง        
 15. ชอบโจมตีผู้นำหรือยึดตัวบุคคลมากกว่า         15. นิยมผู้นำที่ช่วยเหลือประชาชน ยกระดับ
        หลักการ                                                             ฐานะเศรษฐกิจประชาชน
 16. นิยมความเป็นเผด็จการ,บางครั้งใช้ความรุนแรง 16. นิยมประชาธิปไตย,ต่อต้านการใช้ความรุนแรง
-----------------------------------------------------------------------------------------------------
        ลักษณะม๊อบฝ่ายค้าน                                ลักษณะม๊อบฝ่ายรัฐบาล
1.     เป็นม๊อบที่มุ่งล้มการเมืองประชาธิปไตย             1. เป็นม๊อบที่มุ่งสถาปนาการเมืองประชาธิปไตย
2.     มีลักษณะม๊อบทีกระจัดกระจายไม่รวมหมู่           2. ม๊อบมีลักษณะสามัคคีมีความเป็นเอกภาพ
3.     มวลชนที่เข้าร่วมมีไม่มาก                                 3. มวลชนที่เข้าร่วมมีมาก
4.     ม๊อบไม่ค่อยเรียบร้อยหรือระเบียบวินัย              4. ม๊อบมีความเป็นระเบียบวินัยสูงกว่า
5.     ม๊อบมักเป็นคนชั้นกลาง,พ่อค้าแม่ค้า              5. ม๊อบมักเป็นคนรากหญ้า คนชั้นกลางใหม่
ร้านขายของ                                   
6.     มีผู้สนับสนุนจากพันธมิตร                                 6. มีผู้สนับสนุนจากพรรคการเมืองและต่าง
                                                                        ประเทศ
 ---------------------------------------------------------------------------------------------------
    จุดแข็งของพรรคการเมืองฝ่ายค้าน                จุดแข็งของพรรคการเมืองฝายรัฐบาล
1.     บุคลิกดูดี,ดูน่าเชื่อถือ การพูดจาคารมดี                1. บุคลิกห้าวหาญ,จริงใจ,มีความอดทนสูง
2.     ใช้ท่าทีการโต้แย้งแบบย้ำ,ซ้ำตลอด                       2. ใช้ท่าทีในการฟัง,ไม่โต้ตอบทันที
3.     มีผู้สนับสนุนหลายฝ่าย,องค์การNGO             3. มีผู้สนับสนุนจากประชาชนทั่วประเทศที่
ชนชั้นกลาง,นักวิชาการ                                         เป็นชนชั้นรากหญ้าและชนชั้นกลาง
4.     ใช้คนมีความรู้,นักวิชาการช่วยทำงาน                   4. ใช้นักปฏิบัติ,คนมีประสบการณ์ทำงาน
             จุดอ่อนของพรรคฝ่ายค้าน                                     จุดอ่อนของพรรคฝ่ายรัฐบาล
1.     ไม่ค่อยยึดโยงฐานประชาชน                              1. ไม่ค่อยยึดโยงคนชั้นสูง,นักวิชาการ
2.     ทำไม่เก่งตามที่สัญญากับประชาชน                    2. ขาดการประชาสัมพันธ์งานที่รวดเร็วทันเหตุ
                                                                               การณ์อาจทำให้ประชาชนสับสนสงสัย
3.     เน้นโจมตีผู้นำไม่ค่อยมองที่ประชาชน                 3. การโต้ตอบของรัฐบาลไม่รวดเร็ว และทำให้
                                                                       ประชาชนหายสงสัย
---------------------------------------------------------------------------------------------

การเปรียบเทียบความแตกต่างเป็นทัศนะความคิดของผู้เขียน ซึ่งเป็นการมองการเมือง
ไทยของพรรคการเมือง  และมิได้มีเจตนาอคติประการใด แต่ต้องการให้การเมืองไทย
มีการพัฒนาการเมืองประชาธิปไตยเป็นสถาบันและเป็นที่หวังของประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศ   สิ่งใด ๆ ที่วิจารณ์อาจไม่เป็นที่พึงพอใจก็ต้องขออภัยด้วย  หากเป็นไปเพื่อการปรับปรุงกลไกการเมืองที่ดีนั้นก็จะเป็นประโยชน์ต่อประเทศชาติและประชาชน



ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ระบบการเมืองที่ดีเหมือนปลาในอ่างแก้วที่มองเห็นตัวปลาชัดเจน

ตัวแบบจำลองภารกิจของแอสริช (Ashridge Mission Model)

การปฏิรูปการศึกษาในต่างประเทศ