บทความ

กลอนการจัดการเชิงสมดุลย์ตอนที่สอง

                 เครื่องมือการจัดการเชิงสมดุลย์                  เสริมสร้างคุณติดตามผลการงาน       หนึ่งวัตถุประสงค์(objective)เพื่่อบรรลุขององค์การ      เช่นจัดการเติบโตในกำไร       สองมาตรวัด(measures)คือพารามิเตอร์                    เพื่อพบเจอความก้าวหน้าที่วางไว้       หากวัดความสามารถทำกำไร                                  วัดผลในกำไรเฉลี่ยสูงสุด                  สามเป้าหมาย(target)คือคุณค่าสิ่งวัดได้         เช่นลดในการสูญเสียการผลิต       คิดเป็นร้อยละเจ็ดอย่างที่คิด                                   เพิ่่มผลิคสูงขึ้นและต้นทุน       สี่แผนริเริ่ม(initiatives)คือโครงการ(pro ject)             และแผนงาน(program)ริเริ่มอย่างอบอ่น       เพื่อตอบสนองจุดหมายที่เกินทุน                            สร้างสมดุลย์ทุกด้านไม่หนักเอียง                  การทบทวนย้อนกลับสนับสนุน                   มาจากทุนความคิดในแบบเก่า      ในอุตสาหกรรมญี่ปุ่นได้นำเอา                                ที่พวกเราเรียกว่าคือคิวซี      และต้นทุนลดไปฐานศูนย์(Zero-defect)นี้                  คำศัพท์ที่สำคัญทั่วธานี  

การประยุกต์กรอบคิดการจัดการภาครัฐเชิงสมดุลย์เพื่อสนองความต้องการ

                การจัดการภาครัฐของรัฐบาลไทยมุ่งเน้นการสร้างความปรองดองในทุกภาคส่วนนั้นนับว่ามิใช่เรื่องง่ายเลย  เพราะความต้องการของบุคคลแต่ละระดับมีความต้องการที่ต่างกันทั้งในด้านแนวคิด,อุดมการณ์,ทัศนคติ, อัตลักษณ์ของบุคคลที่หล่อหลอมมาต่างกัน  ดังนั้นการที่ภาครัฐต้องหันมาใช้กรอบการมองเกี่ยวกับการปรองดองนั้นทำไปเพื่ออะไร, เพื่อใคร, และเพื่อคนกลุ่มใดที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย  แต่การปรองดองก็ย่อมมีคนหรือกลุ่มได้เปรียบ หรือเสียเปรียบกัน   ดังนั้นกรอบการมองเพื่อสร้างความสมดุลย์ให้เกิดขึ้นในสังคมไทยเป็นเรื่องค่อนข้างยาก เพราะไม่ได้มีพื้นฐานมาจากความจริงใจที่เกิดขึ้น  ซึ่งพิจารณาได้ดังนี้                1. การปรองดองนั้นมุ่งหมายการนิรโทษกรรมความผิดหรือไม่ ?                2. การปรองดองนั้นเป็นเพียงการเลื่อนปัญหามากกว่าการแก้ที่รากเง่าของปัญหาหรือไม่อย่างไร เพราะไม่ได้มีการเปลี่ยนแปลงตามความต้องการของประชาชนหรือไม่ ?                3. การปรองดองเป็นภาพสะท้อนถึงทุกกลุ่มยอมรับความผิดที่เกิดขึ้นใช่ใหม หรือเป็นเพียงฉากบังเพื่อการช่วยเหลือผู้กระทำความผิดหรือไม่ ?                4. การปรองดองเป็

กลอนการจัดการเชิงสมดุลย์ (Balanced Scorecard) ตอนที่หนึ่ง

รูปภาพ
                 ประวัติการจัดการเชิงสมดุลย์     เริ่มมักคุ้นปีหนึ่งเก้าเก้าสอง     โดยแคปลัน,นอร์ตันมีมุมมอง            ดัชนีของคะแนนมุ่งหมายเตือน     ที่เรียกว่า"บาล้านซ์สกอร์การ์ด"          เพื่อวัดมาตรผลงานการขับเคลื่อน     ในวารสารชื่อดังไม่ลืมเลือน              ไม่บิดเบือนคือฮาร์วาร์ดบิวสิเนส             ที่ใส่ใจวิธีการอันกล่นเกลื่อน     กลายเป็นเดือนดาวเด่นของยอดขาย     ในหนังสือธุรกิจที่มากมาย                ที่่ท้าทายผู้อ่านเยี่ยมชะมัด     คือ"บาล๊านสกอร์การ์ดที่ดัดแปลง       ที่เติมแต่งกลยุทธ์สู่ปฏิบัติ     และตีพิมพ์รูปเล่มเต็มพิกัด                ปรากฎชัดในปีหนึ่งเก้าเก้าหก             มันคือแนวทางเกี่ยวกับประวัติ    บอกแน่ชัดว่าอะไรจะเกิดขึ้น     แต่ไม่อาจบอกเราอย่างยืนพื้น            บังเกิดขึ้นในปัจจุบันเป็นอย่างไร     ไม่ว่าเป็นตัวชี้วัดที่ดีนั้น                    ที่สร้างสรรค์ผลงานอนาคตได้     คุณค่าตลาดองค์การนั้นต่ำไซร้          ค้ากำไรเกินไปไม่ค่อยดี             การมุ่งหวังอย่างเดียวในกำไร     ไม่ช่วยให้เกิดคุณค่าต่อลูกค้า