บทความ

สิ่งที่แตกต่างกันระหว่างธุรกิจในยุคศตวรรษที่ 20 และ 21

             จากแนวคิดของ Wayne F.Casio  ได้จำแนกความแตกต่างของของบริษัทในยุคศตวรรษที่ 20 และศตวรรษที่ 21 มีความแตกต่างกันตามตารางดังนี้              ลักษณะ                        ศตวรรษที่ 20                           ศตวรรษที่ 21              องค์การ                        เป็นแบบปิรามิด                         เป็นเวบหรือเครือข่าย              การมุ่งเน้น                     ภายใน           ...

บทที่ 7 การวางแผนอาชีพและพัฒนาอาชีพ

7.1 ความหมายของการวางแผนอาชีพ (Career Planning)       คือกระบวนการที่ต่อเนื่องในตัวบุคคลในการกำหนดเป้าหมายอาชีพและแยกแยะปัจจัยที่จะบรรลุเป้าหมาย การวางแผนอาชีพโดยเฟรด ไพรซ์ ได้แก่ทางเดินอาชีพที่เขาคาดหวังในการนำเขาจากตำแหน่งระดับล่างไปสู่ตำแหน่งผู้จัดการโรงงาน จุดมุ่งสำคัญของการวางแผนอาชีพควรจะสอดคล้องกับเป้าหมายส่วนบุคคลในโอกาสต่าง ๆที่มีความเป็นจริงเท่าที่ทำได้ 7.2 ทางเดินอาชีพ (Career Path) คือเส้นทางความยืดหยุ่นในความเคลื่อนไหวโดยผ่านเส้นทางอาชีพที่กำหนดไว้ 7.3 การพัฒนาอาชีพ (Career Development) คือแนวทางที่เป็นทางการที่นำไปใช้ในองค์การเพื่อช่วยให้บุคลากรได้มาซึ่งทักษะ(Skill) และประสบการณ์ที่ต้องการเพื่อปฏิบัติงานปัจจุบันและอนาคต 7.4 ความมั่นคงในงาน (Job Security) และความมั่นคงในอาชีพ (Career Security) 7.5 ขั้นตอนอาชีพที่กระทบต่อชีวิต       7.5.1 ขั้นเติบโต (Growth Stage)       7.5.2 ขั้นสำรวจ (Exploration stage)       7.5.3 ขั้นบำรุงรักษา (Maintenance Stage)     ...

บทที่ 6 การฝึกอบรมและพัฒนา (Training and Development)

6.1 ความหมายของ Training และ Development       การฝึกอบรมมุ่งออกแบบเพื่อสนองการเรียนรู้ในด้านความรู้และทักษะที่จำเป็นสำหรับงานปัจจุบัน       การพัฒนาเกี่ยวกับกับการเรียนรู้ที่จะก้าวไปข้างหน้าใช้เวลาระยะยาว 6.2 ความหมายขององค์การแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization)       "ความสามารถในการปรับตัวและเข้ากับการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง" 6.3 การเปลี่ยนแปลงองค์การและการฝึกอบรมและพัฒนา       6.3.1การเปลี่ยนแปลงในโครงสร้างอันเป็นสาเหตุจากการควบรวมกิจการ,การซื้อกิจการ,การเติบโต             อย่างรวดเร็ว,การลดขนาดแรงงานลง,และการจ้างเหมาบริการ       6.3.2 การเปลี่ยนแปลงในเทคโนโลยีและจำเป็นต้องมีพนักงานที่มีทักษะชั้นสูง       6.3.3 การเปลี่ยนแปลงระดับการศึกษาของบุคลากรสุงขึ้น แต่จำเป็นต้องมีการฝึกอบรมเพิ่มเติมแบบ             ซ่อมเสริม       6.3.4 การเปลี่ยนแปลงทรัพยากรมนุษย์,การส่งเสริมกำลังแรง...

บทที่ 5 การสรรหาและคัดเลือกด

การสรรหา (Recruitment) 1. ทางเลือกในการสรรหา     ก.การจ้างเหมางานบริการ (Outsourcing)     ข. พนักงานตามสถานการณ์ (Contingent Workers)     ค. องค์การนายจ้างวิชาชีพ: การทำสัญญาจ้างพนักงาน (Employee leasing)     ง. งานล่วงเวลา (overtime) 2.สิ่งแวดล้อมภายนอกของการสรรหา     ก. สภาพตลาดแรงงาน     ข. ข้อพิจารณาทางตัวบทกฎหมาย     ค. ภาพพจน์บริษัท    2.1สิ่งแวดล้อมภายในของการสรรหา     ก.การวางแผนทรัพยากรมนุษย์     ข. นโยบายการเลื่อนขั้นเลื่อนตำแหน่ง     ค.ความรู้ของบุคลากรในบริษัท     ง. การเล่นพรรคเล่นพวก (nepotism)  3. กระบวนการในการสรรหา     ก.วิธีการสรรหาจากภายใน     ข. แหล่งสรรหาจากภายนอก         ก) วิทยาลัย และมหาวิทยาลัย         ข) วิทยาลัยชุมชน         ค) โรงเรียนอาชีวศึกษา         ง)คู่แข่งและบริษั...

การวิเคราะห์งานและการวางแผนทรัพยากรมนุษย์ บทที่ 4

  1. การวิเคราะห์งาน: เครื่องมือพื้นฐานในการจัดการทรัพยากรมนุษย์   2. ความหมายของ Job และ Position   3. แบบฟอร์ม Job Description และ Job Specification   4. เหตุผลในการใช้การวิเคราะห์งานเพื่ออะไร?       ก. การจัดหาบุคลากร (Staffing)       ข. การฝึกอบรมและพัฒนา (Training and Development)       ค. การจ่ายค่าตอบแทนและผลประโยชน์เกื้อกูล (Compensation and Benefit)       ง. สุขภาพและความปลอดภัย (Safety and Health)       จ. การแรงงานสัมพันธ์และพนักงานสัมพันธ์ (Employee and Labor Relation)       ฉ.การวินิจฉัยในตัวบทกฎหมาย (Legal Considerations)       ช. การวิเคราะห์งานเพื่อทีมงาน (Job Analysis Teams)   5. ประเภทของข้อมูลข่าวสารการวิเคราะห์งาน (Job Analysis Information)   6. วิธีการวิเคราะห์งาน   7. การนำวิเคราะห์งานไปใช้       ก. Job Description ...

การสร้างสรรค์ร่วมกัน (Co-creation) ตอนที่หนึ่ง

รูปภาพ
                                              การสร้างสรรค์ร่วมกันนั้นหมายถึง   โดยรำพึงความหมายของ พราฮาลัด                 และ รามัสวามี ได้ชี้ชัด                           แต่งเติมตัดด้วยริเริ่มเพิ่มเสริมสร้าง                 เช่นลดกฎระเบียบตลาดใหม่                   รูปแบบในกฎระเบียบเป็นแบบอย่าง                 รวมเอาเทคโนโลยีอย่างกว้างขวาง          และแนวทางเกี่ยวกับอุตสาหกรรม                          ...

วิศวกรสังคม (Social Engineer) มีบทบาทต่อการพัฒนาประเทศอย่างไร?

          วิศวกรสังคม คือหลักวิชาในทางรัฐศาสตร์ที่หมายถึงการปฏิบัติงานที่มีอิทธิพลต่อทัศนคติอย่างกว้างขวาง และในพฤติกรรมสังคมขนาดใหญ่ ไม่ว่าจะเป็นกลุ่มผู้ปฏิบัติงานภาครัฐและธุรกิจ  ในแวดวงทางการเมือง  การเข้าไปเกี่ยวข้องกับวิศวกรรมทางสังคมคือวิศวกรรมทางการเมือง  ด้วยเหตุผลนานาทัศนะ ความหมายของคำนี้จึงเป็นสิ่งที่แปดเปื้อนในความหมายที่แฝงไปด้วยในทางที่ไม่ดี อย่างไรก็ตามตัวบทกฎหมายและความเป็นธรรมรัฐได้มีผลกระทบเกี่ยวกับการแสวงหาการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและได้มีการพิจารณาคำว่าวิศวกรรมสังคมในขอบเขตหลายประการ   สิ่งที่เป็นข้อห้ามทางกฎหมายได้แก่การก่ออาชญากรรม,การข่่มขืน,การฆ่าตัวตายและการทิ้งขยะล้วนแล้วแต่เป็นนโยบายที่มีจุดประสงค์เพื่อพฤติกรรมที่ไม่พึงปรารถนาที่ทำให้สิ้นหวัง   ในขอบเขตอำนาจศาลของชาวอังกฤษและแคนาดา  การเปลี่ยนแปลงทัศนคติต่อสาธารณะเกี่ยวกับพฤติกรรมใดพฤติกรรมหนึ่งเป็นที่ยอมรับว่าเป็นหน้าที่ที่สำคัญประการหนึ่งของข้อห้ามตามตัวบทกฎหมาย   รัฐบาลยังมีอิทธิพลมากโดยผ่านสิ่งจูงใจและสิ่งไม่จูงใจในนโยบายเศรษฐกิ...