บทความ

กลอนการจัดการเชิงสมดุลย์ตอนที่สอง

                 เครื่องมือการจัดการเชิงสมดุลย์                  เสริมสร้างคุณติดตามผลการงาน       หนึ่งวัตถุประสงค์(objective)เพื่่อบรรลุขององค์การ      เช่นจัดการเติบโตในกำไร       สองมาตรวัด(measures)คือพารามิเตอร์                    เพื่อพบเจอความก้าวหน้าที่วางไว้       หากวัดความสามารถทำกำไร                                  วัดผลในกำไรเฉลี่ยสูงสุด                  สามเป้าหมาย(target)คือคุณค่าสิ่งวัดได้       ...

การประยุกต์กรอบคิดการจัดการภาครัฐเชิงสมดุลย์เพื่อสนองความต้องการ

                การจัดการภาครัฐของรัฐบาลไทยมุ่งเน้นการสร้างความปรองดองในทุกภาคส่วนนั้นนับว่ามิใช่เรื่องง่ายเลย  เพราะความต้องการของบุคคลแต่ละระดับมีความต้องการที่ต่างกันทั้งในด้านแนวคิด,อุดมการณ์,ทัศนคติ, อัตลักษณ์ของบุคคลที่หล่อหลอมมาต่างกัน  ดังนั้นการที่ภาครัฐต้องหันมาใช้กรอบการมองเกี่ยวกับการปรองดองนั้นทำไปเพื่ออะไร, เพื่อใคร, และเพื่อคนกลุ่มใดที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย  แต่การปรองดองก็ย่อมมีคนหรือกลุ่มได้เปรียบ หรือเสียเปรียบกัน   ดังนั้นกรอบการมองเพื่อสร้างความสมดุลย์ให้เกิดขึ้นในสังคมไทยเป็นเรื่องค่อนข้างยาก เพราะไม่ได้มีพื้นฐานมาจากความจริงใจที่เกิดขึ้น  ซึ่งพิจารณาได้ดังนี้                1. การปรองดองนั้นมุ่งหมายการนิรโทษกรรมความผิดหรือไม่ ?                2. การปรองดองนั้นเป็นเพียงการเลื่อนปัญหามากกว่าการแก้ที่รากเง่าของปัญหาหรือไม่อย่างไร เ...

กลอนการจัดการเชิงสมดุลย์ (Balanced Scorecard) ตอนที่หนึ่ง

รูปภาพ
                 ประวัติการจัดการเชิงสมดุลย์     เริ่มมักคุ้นปีหนึ่งเก้าเก้าสอง     โดยแคปลัน,นอร์ตันมีมุมมอง            ดัชนีของคะแนนมุ่งหมายเตือน     ที่เรียกว่า"บาล้านซ์สกอร์การ์ด"          เพื่อวัดมาตรผลงานการขับเคลื่อน     ในวารสารชื่อดังไม่ลืมเลือน              ไม่บิดเบือนคือฮาร์วาร์ดบิวสิเนส             ที่ใส่ใจวิธีการอันกล่นเกลื่อน     กลายเป็นเดือนดาวเด่นของยอดขาย     ในหนังสือธุรกิจที่มากมาย                ที่่ท้าทายผู้อ่านเยี่ยมชะมัด     คือ"บาล๊านสกอร์การ์ดที่ดัดแปลง       ที่เติมแต่งกลยุทธ์สู่ปฏิบัติ     และตีพิมพ์รูปเล่มเต็มพิกัด     ...