ปัญหา แนวทางในการปรับปรุง และข้อเสนอแนะในการปฏิรูประบบสหกรณ์ จากแนวคิดของศูนย์นวัตกรรมเพื่อสังคมและการมีส่วนร่วม

ปัญหาระบบสหกรณ์ของไทย
     1. สหกรณ์ของไทยอยู่ภายใต้ระบบราชการ ทำให้แนวคิดไม่เป็นอิสระ และยังขาดความไว้วางใจในการเข้าร่วมสมาชิกสหกรณ์
     2. ขาดการบูรนาการสหกรณ์เนื่องจากมีการจำกัดประเภท ไม่ยืดหยุ่น และวาระการดำรงตำแหน่งเพียง 2 ปี ทำให้การดำเนินงานขาดความต่อเนื่อง
     3. สหกรณ์ไม่สามารถจัดตั้งเป็นธนาคารได้ ทำให้ไม่สามารถระดมเงินฝากหรือกู้เงินโดยบุคคลภายนอกได้
     4. หน่วยงานที่ดูแลขาดความชัดเจน และความโปร่งใส
     5. ปัญหาการบริหาร มุ่งกำไรเป็นตัวเลข ขาดมุมมองที่ให้ความเป็นอยู่ที่ดีของสมาชิก
     6. ขาดผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารการเงิน, สินเชื่อ,การลงทุน และความเสี่ยง
แนวทางแก้ปัญหา: การปฏิรูประบบสหกรณ์เพื อสังคม และความยั งยืน
ยุทธศาสตร์ระยะสั3น นวัตกรรมและนโยบายที เริ มได้ทันทีด้วยความร่วมมือหลายภาคส่วน
มาตรการ
• แก้กฎกระทรวงเรื องประเภทของสหกรณ์
- แก้ไขให้จัดตั งชุมนุมสหกรณ์หลายประเภทได้ เพื อตอบสนองความต้องการเชิงพื นที (ได้รับ
ความเห็นชอบจากคณะกรรมการสร้างเสริมกิจการเพื อสังคมแล้ว และกําลังอยู่ในขั นตอน
ประสานงานกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์)
• ประสานทางคณะกรรมการพัฒนาการสหกรณ์แห่งชาติ (คพช) พิจารณาเรื องกฎเกณฑ์การลงทุน
ให้กว้างขวางและรวดเร็วขึ น โดยเฉพาะการพิจารณาเพิ มเติมเรื องให้ลงทุนในกิจการเพื อสังคมและ
กิจการที เกิดประโยชน์ต่อสาธารณะได้
ยุทธศาสตร์ระยะยาว การพัฒนานโยบายปฏิรูปเชิงโครงสร้าง
มาตรการ
• แก้ไข พรบ
- เปิ ดโอกาสให้กลุ่มเตรียมการสามารถรวมตัวมาเป็ นชุมนุมกับสหกรณ์โดยทั วไปได้ Center for Social Innovation and Participation
ศูนย์นวัตกรรมเพื อสังคมและการมีส่วนร่วม
- ทบทวนพิจารณา พ.ร.บ. เรื องวาระและจํานวนปีการทํางานในตําแหน่งของผู้นํากลุ่มและ
คณะกรรมการสหกรณ์ เนื องจากจํานวนวาระในปัจจุบันสั นเกินไปและไม่เอื อต่อการทํางานที
ต่อเนื อง โดยพิจารณาความเหมาะสมแยกไป หาระยะเวลาที เหมาะสมกับสหกรณ์ขั นประถม
และสหกรณ์ระดับชาติ ซึ งการบริหารงานมีความซับซ้อนต่างกัน ช่วงเวลาที จําเป็ นต้องใช้ใน
การบ่มเพาะผู้บริหารไม่เท่ากัน
- ทบทวนพิจารณาการลงคะแนนเสียงเลือกผู้นําองค์กรระดับชาติใหม่ ประสบการณ์และการ
บริหารงานของสหกรณ์ใหญ่ระดับชาติและสหกรณ์เล็กไม่เท่ากัน จึงควรปรับใหม่ ไม่ควรให้มี
คะแนนเสียงเท่ากัน
• ตรากฎหมายให้มีการจัดตั ง “กองทุนกลางสวัสดิการสังคม” ของสหกรณ์โดยมีองค์กรกลางที
ปราศจากการเมืองคอยกํากับดูแล
- เป็ นศูนย์กลางรวมเงินลงทุนเพื อกิจการสังคมจากสัดส่วนภาษีที ได้รับการยกเว้น เพื อ
พิจารณาให้เงินกู้ และสงเคราะห์หรือสนับสนุนกิจกรรมเพื อสังคม
- มีบทบาทในการสร้างมาตรฐานขั นตํ าและพัฒนาองค์กรที ต้องการความช่วยเหลือให้ถึง
เกณฑ์มาตรฐาน ช่วยเหลือทั งด้านการบริหารจัดการ และด้านการเงิน
- ติดตามตรวจสอบ ประเมินผล และให้คําแนะนํากลุ่มสหกรณ์ที ยังไม่เข้มแข็ง
• ยกระดับองค์กรที กํากับดูแลสหกรณ์ให้เป็นองค์กรมหาชน โดยยกเลิกกรมส่งเสริมสหกรณ์ กรมตรวจ
บัญชี และสันนิบาตสหกรณ์ (การดําเนินงานจะคล้ายกับ ธปท. หรือ กลต. ที กํากับดูแลอย่างอิสระ)
- เพื อทําหน้าที ส่งเสริมและตรวจสอบอย่างเป็นระบบ
- เพื อความโปร่งใสและชัดเจน ปราศจากอํานาจทางการเมือง เนื องจากในปัจจุบันอํานาจการ
กํากับดูแล และตรวจสอบทุจริตส่วนใหญ่อยู่กับนายทะเบียนเท่านั น ประชาชนที ได้รับความ
เดือดร้อนต้องจําเป็นต้องพึ งอํานาจนายทะเบียน แต่ระบบราชการไม่สามารถสร้างแรงจูงใจ
ในการปฏิบัติหน้าที ของนายทะเบียนได้
• สร้างศักยภาพในผู้นํารุ่นใหม่ มีการสร้างมาตรฐานและตัวชี วัดที ชัดเจนถึงผู้ที จะเข้ามารับตําแหน่งผู้นํา
พร้อมทั งมีการจัดอบรมศักยภาพอย่างต่อเนื อง ทั งในแง่คุณธรรมและทักษะการบริหารจัดการ การ
บริหารสินเชื อและความเสี ยง
- ดึงเอาศักยภาพของขบวนการสหกรณ์ สถาบันการศึกษา หน่วยงานเกี ยวข้อง จะเป็ น
การบูรณาการการพัฒนาบุคลากรอย่างมีประสิทธิภาพ
พัฒนาระบบการตลาดสหกรณ์แบบภาพรวมทั งระบบ โดยเฉพาะอย่างยิ งด้านการเกษตร ต้อง
ศึกษา วิจัย ระบบการตลาดที มีประสิทธิภาพและเป็ นจริงได้ เป็ นเวทีกลางระหว่างภาคเอกชนกับ
สหกรณ์ โดยใช้รูปแบบที เกิดจากการวิจัยนําร่อง การมองให้ครอบคลุมการตลาดโดยรวม จะมีผลใน
การเชื อมโยงการสหกรณ์ในระดับท้องถิ นเพื อแก้ปัญหาร่วมกันอย่างยั งยืน

ข้อเสนอแนะในการแก้ปัญหา
ระยะสั้น • แก้กฎกระทรวงเรื องประเภทของสหกรณ์
                ปรับกฎเกณฑ์การลงทุน
                แก้ไข พรบในเรื องทีก่อให้เกิดการติดขัดในการบริหารจัดการ 
               จัดตั้ ง “กองทุนกลางสวัสดิการสังคม” ของสหกรณ์ 
                ยกระดับองค์กรที กํากับดูแลสหกรณ์ให้เป็นองค์กรมหาชน
                สร้างศักยภาพในผู้นํารุ่นใหม่ 



ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ระบบการเมืองที่ดีเหมือนปลาในอ่างแก้วที่มองเห็นตัวปลาชัดเจน

ตัวแบบจำลองภารกิจของแอสริช (Ashridge Mission Model)

การปฏิรูปการศึกษาในต่างประเทศ