การศึกษาไทยน่าเป็นห่วง :อาการที่ส่อเค้าว่ามีปัญหา?
สิ่งที่่สะท้อนทางการศึกษาไทยที ่มองเห็นแบบกว้าง ๆคือ
1. การศึกษาไทยไม่ได้ปลูกฝังหน้าที ่พลเมืองศีลธรรมอย่างดีพอ หลังจากโรงเรียนแยกตัวจากวัด ทำให้เราใช้เสรีภาพกันอย่างมากม ายและไม่รู้จักรักษาสิทธิของผุ้ อื่น หรืออาจจะทำอะไรได้ตามใจ เพราะเสรีภาพมิใช่เรื่องทำอะไรไ ด้ตามใจ แต่ต้องพิจารณาว่าสิ่งใช้เสรีภา พนั้นจะต้องไม่กระทบหรือละเมิดส ิทธิ หรือเสรีภาพของผุ้อื่น
2. การศึกษาไทยมุ่งการเรียนแบบอ่าน ,ท่องจำ,อยู่แต่ในตำราเพื่อไปสอ บ แต่ไม่ได้ศึกษาชิวิตจริงที่อยู่ นอกเหนือห้องเรียน ทำให้นักเรียน,นักศึกษาไทยประยุ กต์ไม่เก่ง เมื่อมาทำงานต้องใช้วเลาปรับตัว มากเกินไป
3. การศึกษาไทยมุ่งสอนให้เป็นคนที่ เรียนเก่ง, สอบเข้าโรงเรียนดัง ๆ หรือได้รับปริญญาสูง ๆ แต่ไม่ได้นำความรู้มาช่วยเหลือพ ัฒนาบ้านเมือง กลายเป็นการศึกษารับใช้ตนเอง ประกอบกับผลตอบแทนไม่สอดคล้องต่ อการเรียน ทำให้ผู้เรียนมุ่งที่จะหาเงินเย อะ ๆ เพื่อตอบสนองต่อตนเองมากกว่าจะร ับใช้สังคม หรือมีความรับผิดชอบต่อสังคมที่ เขาเป็นอยู่ เป็นการศึกษาที่มุ่งเอาตัวรอด และก่อให้เกิดความเห็นแก่ตัว
4. การศึกษาไทยขาดคุณภาพอันเนื่องจ ากการประเิมินคุณภาพทางการศึกษา มุ่งให้ครูหรืออาจารย์สาละวน หรือหัวฟูกับงานที่ไม่สะท้อนคุณ ภาพทางการศึกษา เป็นการศึกษาที่มุ่งเน้นแต่รูปแ บบ แต่ไม่สนใจเนื้อหา ผู้ที่เป็นใหญ่ในกระทรวงศึกษาธิ การมักไม่ค่อยรู้จริงเรื่องการศ ึกษา หรือมัวแต่สนใจแต่เรื่องพยายามจ ะใช้งบประมาณเพื่อจัดซื้อจัดจ้า งของจำนวนมาก ๆ หรือการก่อสร้างตึกทีีทันสมัยทำ ใ้ห้เกิดการทุจริตในการจัดซื้อจ ัดจ้าง แต่ไม่ได้ส่งเสริมทุนมนุษย์ ซึ่งมีความสำคัญและยังยื่นมากกว ่า แต่การใส่ใจในทุนมนุษย์ทำให้งบป ระมาณไปลงที่ตัวคน จึงทำให้ผู้มีอำนาจทางการเมืองไ ม่ค่อยใส่ใจ
5. อัตราค่าตอบแทนของครู หรืออาจารย์ค่อนข้างต่ำ ไม่ท้าทายทำให้คนเก่ง หรือคนที่มีความรู้ดีมาเป็นครู ครูจึงประสบปัญหาหนี้สิน ทำให้สมาธิครูหรืออาจารย์ไม่ดีต ้องคอยหาวิธีมาใช้หนี้ ด้วยการสมัคร MLM, ขายประกัน, ขายของให้เด็ก เพราะเงินเดือน,ค่าตอบแทนไม่พอใ ช้กับสถานภาพครู
6. การศึกษาไทยขาดการวางแผนพัฒนาทร ัพยากรมนุษย์ให้สมดุลย์ มีการผลิตบัณฑิตมากมาย หลากหลายสาขา แต่ไม่ค่อยมีคุณภาพ ซึ่งผิดกับสมัยก่อนที่การจะเข้า เรียนได้ต้องสอบเข้า และมีการคัดเลือก ทำให้ผู้เรียนมีความตั้งใจในการ เรียน, รัฐสนับสนุนงบประมาณได้เพียงพอ แต่เมื่อมีมหาวิทยาลัยจำนวนมาก ทำให้รัฐไม่สามารถโอบอุ้มได้ แต่เมื่อจะออกนอกระบบก็เกิดปัญห าการคิดค่าเรียนที่แพงเกินไป อันเนื่องจากระบบบ้านเราค่าตอบแ ทนไม่รองรับ
และแทนที่จะฝึกฝนให้ผู้เรียนทาง ด้านฝีมือซึ่งมีความสำคัญต่อการ พัฒนาประเทศชาติ หรือฝึกฝนทักษะ,ความชำนาญงาน เพื่อมาส่งเสริมให้บุคลากรทางด้ านการผลิต,เทคโนโลยี่ เพื่อลดการนำเข้า แต่เรากลับต้องสั่งซื้อเครื่องจ ักรจากต่างประเทศ ทำให้ต้องสูญเสียงบประมาณไปเป็น จำนวนมาก เมื่อมาเรียนซึ่งไม่ถนัดต่อสาขา ที่เรียนก็ทำให้เสียหายทางดานเว ลาไปพัฒนาฝึมือทักษะ และสิ่งที่เรียนก็ไม่มีความรู้อ ย่างเต็มที่
7. การศึกษาไทยเหินห่างจากมวลชน ทำให้ผู้เรียนไม่เข้าใจปัญหาสัง คม, ขาดการมีจิตอาสารับใช้สังคมที่เ ขาเป็นอยู่ และอาจลืมไปว่ามหาวิทยาลัยของรั ฐที่เรียนนั้นเป็นงบประมาณที่มา จากภาษีอากรของประชาชน
8. การศึกษาไทยเน้นทฤษฎีวิชาการมาก จนเกินไป แต่ไม่ค่อยได้ฝึกฝนทักษะปฏิบัติ หรือ การเข้าไปสัมผัสความเป็นจริง มีความรู้ความเข้าใจงานวิจัยค่อ ยข้างน้อย การศึกษาไทยเป็นลักษณะพูดกว้าง ๆ แบบเหวี่ยงแห แต่ไม่ได้เจาะลึกประเด็น ทำให้การศึกษาสะเปะสะปะ ระบบการรับครูอาจารย์ยังใช้ระบบ พรรคพวก, คนรู้ใจ, มากกว่าจะสรรหาโดยการสอบคัดเลือ กเข้าเป็นครูอาชีพ, หรือสอบที่ใช้วัดสมรรถนะผุ้เหมา ะสมมาเป็นครู (teachercompentency)
9. เมื่อครูกังวลกับค่าตอบแทนต่ำ จึงหันไปทำอย่างอื่น หรือมุ่งไปอย่างอื่น การใส่ใจในการให้ความรู้อย่างเต ็มที่จึงไม่เกิด ทำให้ครูจำนวนมากไม่สนใจค้นคว้า หาความรู้เพิ่มเติม และกลับมองว่าการมีความรู้ไม่ก่ อให้เกิดรายได้ประการใด สู้ไปทำอย่างอื่นดีกว่า หรือไปสนใจอย่างอื่น ทำให้ผู้เรียนได้รับความรู้ที่ม ีมาตรฐานต่ำ หรือเรียนอยางกระท่อนกระแท่น ประกอบกับสิ่งเย้ายวนในโลกดิจิต อลสมัยใหม่ทำให้นักเรียน,นักศึก ษาปัจจุบันไม่ค่อยสนใจในการเรีย นอย่างเต็มที่ เว้นแต่จะเสียค่าเล่าเีรียนเองส ูง ๆ ก็จะให้รู้สึกคุณค่าการลงทุนการ ศึกษามีความสำคัญ
10.การศึกษาไทยจึงแลดูทันสมัยแต ่ไม่พัฒนา (Modernization without development) ผู้บริหารสวมหมวกหลายใบ มีหนทางในการแสวงหาผลประโยชน์จา กการบริหารมากมาย และไม่ค่อยมีภาวะผู้นำสมกับตำแห น่ง ทำให้การบริหารการศึกษาหลายแห่ง เน้นระบบอุปถัมป์กันอยางดาดดื่น ขาดผู้มีแนวคิดหรือระบบคิดใหม่ ๆ มาช่วยให้ความรู้ทางการศึกษา ทำให้ระบบราชการปิดกั้นโอกาส หรือหากไม่ปิดกั้นโอกาสในระยะเข ้าไป แต่ก็ถูกล๊อคด้วยระบบการบริหารท ี่ไม่ทันโลก ก็ทำให้คนที่เก่ง ๆ เกิดความเบื่อหน่าย และหนีออกจากระบบมหาวิทยาลัยไปท ำงานอย่างอื่น
สรุป สิ่งนี้คือประเด็นที่กระผมมองปั ญหา และหวังว่าผู้มีบทบาทสำคัญควรนำ ไปแก้ไขระบบการศึกษา และถึงเวลา....ที่ต้องปฏิรูปกัน อย่างจริงจัง ผู้ที่ตั้งใจทำการศึกษาที่ดีย่อ มมมีอานิสงก์เป็นที่ยอมรับของสั งคมในขณะนี้ แต่หากเป็นการปล่อยปละละเลยก็อา จทำให้เสียดายโอกาสในการพัฒนาทุ นมนุษย์ซึ่งจะได้ชื่อเสียงเป็นท ี่ยอมรับ มากกว่าคำนึงถึงผลประโยชน์ทางกา รเมืองจะพึงได้
1. การศึกษาไทยไม่ได้ปลูกฝังหน้าที
2. การศึกษาไทยมุ่งการเรียนแบบอ่าน
3. การศึกษาไทยมุ่งสอนให้เป็นคนที่
4. การศึกษาไทยขาดคุณภาพอันเนื่องจ
5. อัตราค่าตอบแทนของครู หรืออาจารย์ค่อนข้างต่ำ ไม่ท้าทายทำให้คนเก่ง หรือคนที่มีความรู้ดีมาเป็นครู ครูจึงประสบปัญหาหนี้สิน ทำให้สมาธิครูหรืออาจารย์ไม่ดีต
6. การศึกษาไทยขาดการวางแผนพัฒนาทร
และแทนที่จะฝึกฝนให้ผู้เรียนทาง
7. การศึกษาไทยเหินห่างจากมวลชน ทำให้ผู้เรียนไม่เข้าใจปัญหาสัง
8. การศึกษาไทยเน้นทฤษฎีวิชาการมาก
9. เมื่อครูกังวลกับค่าตอบแทนต่ำ จึงหันไปทำอย่างอื่น หรือมุ่งไปอย่างอื่น การใส่ใจในการให้ความรู้อย่างเต
10.การศึกษาไทยจึงแลดูทันสมัยแต
สรุป สิ่งนี้คือประเด็นที่กระผมมองปั
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น