บทบาทของทรัพยากรมนุษย์ในฐานะห่วงโซ่แห่งคุณค่า
จากแนวคิดของผู้เขียนได้ทำการทดลองในหลายวิธีการเพื่อทำให้การวัดผลในคุณค่าของทรัพยากรมนุษย์ง่ายเข้า พบว่าจะตัองทำการทดลองผิดถูกหลายครั้งด้วยกันซึ่งเป็นกระบวนการอย่างง่ายเพื่อให้ผลออกมาอย่างชัดเจนในการเข้าใจการเพิ่มมูลค่า (value added) ซึ่งเป็นผลผลิตส่วนสุดท้ายของกระบวนการใด ๆ ก็ตาม
มีทัศนะที่สำคัญ 4 ประการในองค์ประกอบที่เชื่อมโยงกันของห่วงโซ่แห่งคุณค่า เช่นได้แก่ กระบวนการ, ผลที่ได้มา,ผลกระทบ และมูลค่าเพิ่ม ในทุกกระบวนการทรัพยากรมนุษย์ถูกสมมติให้มีมูลค่าเพิ่ม การให้คำนิยามด้วยวัตถุประสงค์อื่ีนๆ เป็นการสูญเสียเวลา วัตถุประสงค์ก็เพื่อปรับปรุงวิธีการวัดผลและการประเมินกระบวนการทรัพยากรมนุษย์ และคุณค่าสูงสุด กระบวนการและผลที่ได้มาในการกระทำหน้าที่ต่าง ๆ นั้นดังแสดงในภาพ
การปรับปรุงกระบวนการทุก ๆ อย่างในการทำหน้าที่ทรัพยากรมนุษย์กล่าวคือเป็นการ
ไตร่ตรอง ผลสุดท้ายที่ได้รับควรจะเป็นผลที่ได้มาที่ดีกว่า ความแตกต่างของผลที่ได้มากับผลที่ได้มาก่อนปรับปรุงกระบวนการคือผลกระทบ การปรับปรุงตัวเลขที่แสดงถึงผลกระทบคือมูลค่าเพิ่ม ตัวอย่างดังกล่าวต้องการที่จะเปลี่ยนแปลงวิธีการของแหล่งที่ได้มาในกระบวนการจ้างงาน ซึ่งเป็นช่วงเวลาสั้น ๆเพื่อการบรรจุงาน
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
การกระทำหน้าที่ กระบวนการ ผลที่ได้มา
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
การจัดหาบุคลากร การสัมภาษณ์ การจ้างงาน
ข้อเสนอของงาน การยอมรับและปฏิเสธ
การจ่ายค่าตอบแทน การประเมินค่างาน จำนวนของระดับตำแหน่ง
กระบวนการจัดทำเงินเดือน เวลาที่ใช้ในกระบวนการ การเปลี่ยนแปลงบันทึกประวัติ
ผลประโยชน์เกื้อกูล กระบวนการจัดทำ ต้นทุนกระบวนการ
จำนวนขั้นตอนดำเนินการ
อัตราความผิดพลาด
พนักงานสัมพันธ์ การปรึกษาพนักงาน จำนวนเวลาที่ใช้ในการให้คำปรึก
ษา
ปัญหาที่แก้ไข
การแรงงานสัมพันธ์ กระบวนการร้องทุกข์ จำนวนที่ได้รับการแก้ไข
สัญญาที่ได้มีการเจรจาต่อรอง อัตราค่าจ้างในสัญญาใหม่
การฝึกอบรม การออกแบบโปรแกรม ต้นทุนการฝึกอบรม
การส่งมอบโปรแกรมฝึกอบรม ชั่วโมงการฝึกอบรมที่จัดให้
การพัฒนาองค์การ การแก้ปัญหา เวลาที่ใช้แก้ปัญหา
การสร้างทีมงาน ระดับของประสิทธิภาพ
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ภาพ แสดงถึงกระบวนการทำหน้าที่ทรัพยากรมนุษย์ และผลที่ได้มา
ดังนั้นในการวัดผลเกี่ยวกับทุนมนุษย์จำเป็นต้องมองกระบวนการทำหน้าที่บริหารทรัพยากรมนุษย์ในสภาพความเป็นจริง ก่อนที่จะคำนวน หรือการกำหนดสูตรเพื่อการวัดผล การจัดการที่มีการวัดผลจึงเป็นสิ่งที่มีความชัดเจนในการทำงานการบริหารยุคสมัยใหม่ หากองค์การมีการดำเนินงานทรัพยากรมนุษย์ได้ดีขึ้นกว่าเดิม เช่นการสรรหาและการคัดเลือกพนักงาน หากทำได้เร็วขึ้นกว่าเดิมก็จะเป็นการประหยัดต้นทุนในการจ้างงาน ซึ่งส่งผลให้มีการประหยัดในการผลิตสินค้าและบริการ เพราะว่าค่าตอบแทนในเรื่องค่าตอบแทนทางอ้อมจะมีต้นทุนดำเนินงานที่ต่ำลง รวมไปถึงการส่งมอบบริการที่รวดเร็ว, การประหยัดต้นทุนในการขนส่ง การจัดเก็บสินค้า ก็จะเป็นการลดต้นทุนโดยรวม การเพิ่มส่วนแบ่งการตลาด,การเพิ่มยอดขาย เนื่องจากลูกค้ามีความพึงพอใจในบริการมากขึ้น ทำให้ยอดจำหน่ายสูงขึ้น ในขณะที่ต้นทุนดำเนินงานต่อหน่วยลดลง จึงทำให้งานบริหารทรัพยากรมนุษย์มีประสิทธิภาพมากขึ้น
มีทัศนะที่สำคัญ 4 ประการในองค์ประกอบที่เชื่อมโยงกันของห่วงโซ่แห่งคุณค่า เช่นได้แก่ กระบวนการ, ผลที่ได้มา,ผลกระทบ และมูลค่าเพิ่ม ในทุกกระบวนการทรัพยากรมนุษย์ถูกสมมติให้มีมูลค่าเพิ่ม การให้คำนิยามด้วยวัตถุประสงค์อื่ีนๆ เป็นการสูญเสียเวลา วัตถุประสงค์ก็เพื่อปรับปรุงวิธีการวัดผลและการประเมินกระบวนการทรัพยากรมนุษย์ และคุณค่าสูงสุด กระบวนการและผลที่ได้มาในการกระทำหน้าที่ต่าง ๆ นั้นดังแสดงในภาพ
การปรับปรุงกระบวนการทุก ๆ อย่างในการทำหน้าที่ทรัพยากรมนุษย์กล่าวคือเป็นการ
ไตร่ตรอง ผลสุดท้ายที่ได้รับควรจะเป็นผลที่ได้มาที่ดีกว่า ความแตกต่างของผลที่ได้มากับผลที่ได้มาก่อนปรับปรุงกระบวนการคือผลกระทบ การปรับปรุงตัวเลขที่แสดงถึงผลกระทบคือมูลค่าเพิ่ม ตัวอย่างดังกล่าวต้องการที่จะเปลี่ยนแปลงวิธีการของแหล่งที่ได้มาในกระบวนการจ้างงาน ซึ่งเป็นช่วงเวลาสั้น ๆเพื่อการบรรจุงาน
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
การกระทำหน้าที่ กระบวนการ ผลที่ได้มา
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
การจัดหาบุคลากร การสัมภาษณ์ การจ้างงาน
ข้อเสนอของงาน การยอมรับและปฏิเสธ
การจ่ายค่าตอบแทน การประเมินค่างาน จำนวนของระดับตำแหน่ง
กระบวนการจัดทำเงินเดือน เวลาที่ใช้ในกระบวนการ การเปลี่ยนแปลงบันทึกประวัติ
ผลประโยชน์เกื้อกูล กระบวนการจัดทำ ต้นทุนกระบวนการ
จำนวนขั้นตอนดำเนินการ
อัตราความผิดพลาด
พนักงานสัมพันธ์ การปรึกษาพนักงาน จำนวนเวลาที่ใช้ในการให้คำปรึก
ษา
ปัญหาที่แก้ไข
การแรงงานสัมพันธ์ กระบวนการร้องทุกข์ จำนวนที่ได้รับการแก้ไข
สัญญาที่ได้มีการเจรจาต่อรอง อัตราค่าจ้างในสัญญาใหม่
การฝึกอบรม การออกแบบโปรแกรม ต้นทุนการฝึกอบรม
การส่งมอบโปรแกรมฝึกอบรม ชั่วโมงการฝึกอบรมที่จัดให้
การพัฒนาองค์การ การแก้ปัญหา เวลาที่ใช้แก้ปัญหา
การสร้างทีมงาน ระดับของประสิทธิภาพ
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ภาพ แสดงถึงกระบวนการทำหน้าที่ทรัพยากรมนุษย์ และผลที่ได้มา
ดังนั้นในการวัดผลเกี่ยวกับทุนมนุษย์จำเป็นต้องมองกระบวนการทำหน้าที่บริหารทรัพยากรมนุษย์ในสภาพความเป็นจริง ก่อนที่จะคำนวน หรือการกำหนดสูตรเพื่อการวัดผล การจัดการที่มีการวัดผลจึงเป็นสิ่งที่มีความชัดเจนในการทำงานการบริหารยุคสมัยใหม่ หากองค์การมีการดำเนินงานทรัพยากรมนุษย์ได้ดีขึ้นกว่าเดิม เช่นการสรรหาและการคัดเลือกพนักงาน หากทำได้เร็วขึ้นกว่าเดิมก็จะเป็นการประหยัดต้นทุนในการจ้างงาน ซึ่งส่งผลให้มีการประหยัดในการผลิตสินค้าและบริการ เพราะว่าค่าตอบแทนในเรื่องค่าตอบแทนทางอ้อมจะมีต้นทุนดำเนินงานที่ต่ำลง รวมไปถึงการส่งมอบบริการที่รวดเร็ว, การประหยัดต้นทุนในการขนส่ง การจัดเก็บสินค้า ก็จะเป็นการลดต้นทุนโดยรวม การเพิ่มส่วนแบ่งการตลาด,การเพิ่มยอดขาย เนื่องจากลูกค้ามีความพึงพอใจในบริการมากขึ้น ทำให้ยอดจำหน่ายสูงขึ้น ในขณะที่ต้นทุนดำเนินงานต่อหน่วยลดลง จึงทำให้งานบริหารทรัพยากรมนุษย์มีประสิทธิภาพมากขึ้น
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น