บทความ

ตัวอย่างสมรรถนะในการทำงานเป็นทีม (Team Building Competency)ของวิชาชีพพยาบาล

 KSA คือ ความรู้,ทักษะ,และคุณสมบัติหรือพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในการปฏิบัติงานในหน้าที่นั้น หรือในภารกิจที่สร้างสรรค์นั้น ๆ เพื่อให้เป็นสมรรถนะแก่นแกนขององค์การ ซึ่งต้องอาศัยเวลาเป็นเครื่องพิสูจน์ และต้องพัฒนาอย่างไม่หยุดยั้ง โดยเน้นความสามารถในการแข่งขัน,ความยั่งยืน,ความเจริญเติบโตและพัฒนา ฯลฯ ตัวอย่างสมรรถนะในการทำงานเป็นทีม   ( Team Building Competency ) ทำงานร่วมกันร่วมกับผู้อื่นเพื่อให้บรรลุเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของกลุ่ม • ความร่วมมือ   ความสัมพันธ์ • /  การเป็นหุ้นส่วน • เปิดและเต็มใจที่จะแบ่งปันข้อมูลที่เหมาะสมกับลูกค้า / ครอบครัวลูกค้าและคนอื่น ๆ • ช่วยในการแก้ไขปัญหาและข้อเสนอทีมที่มีความขัดแย้งในลักษณะที่เป็นบวก • รับผิดชอบต่อการบรรลุเป้าหมายของแต่ละบุคคลในขณะที่มีการทำความเข้าใจผลกระทบต่อลูกค้า / ครอบครัวลูกค้าและคนอื่น ๆ • เข้าใจถึงความสำคัญของการบรรลุเป้าหมายของทีมและการริเริ่มสร้างสรรค์ / เริ่มต้นการแก้ปัญหา • แสดงให้เห็นถึงจิตวิญญาณความร่วมมือและก่อให้สภาพแวดล้อมการทำงานในเชิงบวกและสนับสนุน • สนับสนุนการตัดสินใจของทีมงานและเป็นที่ไว้วางใจของผู้อื่น

คำคมสุภาษิตเกี่ยวกับการเจรจาต่อรอง

การเจรจาต่อรองมักเป็นเรื่องปรกติที่เกิดขึ้นอยู่เป็นประจำ และจำเป็นต้องเป็นนักเจรจาต่อรองเพื่อความสำเร็จ และเพื่อเกิดการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ในลักษณะของการเจรจาที่เป็นลักษณะ ชนะ-ชนะ ทั้งสองฝ่าย ทักษะการเจรจาต่อรองจึงมีความสำคัญในฐานะที่เป็นเครื่องมือทางธุรกิจที่จำเป็นต้องฝึกฝนวาทะคารมที่ทำให้งานสำเร็จราบรื่น Let us never negotiate out of fear. But let us never fear to negotiate. - John F. Kennedy "ขอให้เราอย่าเจรจาต่อรองด้วยคว ามเกรงกลัว แต่ขอให้เราไม่เคยเกรงกลัวที่จะ เจรจาต่อรอง" จอห์น เอฟ เคนเนดี้ When a man says that he approves something in principal, it means he hasn't the slightest ... "เมืี่อใดก็ตามที่คนเราพูดว่าเข าอนุมัติบางสิ่งบางอย่างด้วยหลั กการ นั่นย่อมหมายถึงว่าเขาไม่มีหลัก การแม้แต่น้อย" Most people I ask little from. I try to give them much, and expect nothing in return and I do ... "คนส่วนมากที่ข้าพเจ้าร้องขอจาก เขา ข้าพเจ้าพยายามให้พวกเขามาก และไม่ได้คาดหวังอะไรในทางทางกล ับกัน และข้าพเจ้าก็ทำเช่นนั้น..." The lesson

บทบาทของทรัพยากรมนุษย์ในฐานะห่วงโซ่แห่งคุณค่า

                จากแนวคิดของผู้เขียนได้ทำการทดลองในหลายวิธีการเพื่อทำให้การวัดผลในคุณค่าของทรัพยากรมนุษย์ง่ายเข้า พบว่าจะตัองทำการทดลองผิดถูกหลายครั้งด้วยกันซึ่งเป็นกระบวนการอย่างง่ายเพื่อให้ผลออกมาอย่างชัดเจนในการเข้าใจการเพิ่มมูลค่า (value added) ซึ่งเป็นผลผลิตส่วนสุดท้ายของกระบวนการใด ๆ ก็ตาม                 มีทัศนะที่สำคัญ 4 ประการในองค์ประกอบที่เชื่อมโยงกันของห่วงโซ่แห่งคุณค่า เช่นได้แก่ กระบวนการ, ผลที่ได้มา,ผลกระทบ และมูลค่าเพิ่ม  ในทุกกระบวนการทรัพยากรมนุษย์ถูกสมมติให้มีมูลค่าเพิ่ม  การให้คำนิยามด้วยวัตถุประสงค์อื่ีนๆ เป็นการสูญเสียเวลา   วัตถุประสงค์ก็เพื่อปรับปรุงวิธีการวัดผลและการประเมินกระบวนการทรัพยากรมนุษย์ และคุณค่าสูงสุด กระบวนการและผลที่ได้มาในการกระทำหน้าที่ต่าง ๆ นั้นดังแสดงในภาพ                การปรับปรุงกระบวนการทุก ๆ อย่างในการทำหน้าที่ทรัพยากรมนุษย์กล่าวคือเป็นการ ไตร่ตรอง ผลสุดท้ายที่ได้รับควรจะเป็นผลที่ได้มาที่ดีกว่า  ความแตกต่างของผลที่ได้มากับผลที่ได้มาก่อนปรับปรุงกระบวนการคือผลกระทบ  การปรับปรุงตัวเลขที่แสดงถึงผลกระทบคือมูลค่าเพิ่ม ตัวอย่างดังกล่าวต้องกา

สุภาษิตของปรมาจารย์การจัดการระดับโลกที่ชื่อว่าปีเตอร์เอฟ ดรุ๊กเกอร์

Efficiency is doing things right; effectiveness is doing the right things "ประสิทธิภาพคือการทำสิ่งต่าง ๆ ให้ถุกต้อง ประสิทธิผลคือการทำในสิ่งที่ถูก ต้อง"   The best way to predict the future is to create it. "หนทางที่ดีที่สุดในการพยากรณ์อ นาคตก็คือจงสร้างสรรค์มันขึ้นมา "   Most discussions of decision making assume that only senior executives make decisions or that only senior executives' decisions matter. This is a dangerous mistake. "คำอธิบายส่วนมากเกี่ยวกับเรื่อ งการตัดสินใจนั้นมักคิดว่าเป็นเ พียงการตัดสินใจของผู้บริหารระดับอาวุโสเท่านั้นที่ทำการตัดสิน ใจ หรือเป็นเพียงสาระสำคัญของการตั ดสินใจอยู่ที่ผู้บริหารอาวุโสเท่านั้น นับว่าเป็นความสำคัญผิดอย่างน่า อันตรายย่ิง - The most important thing in communication is hearing what isn't said. "สิ่งสำคัญมากที่สุดในการติดต่อ สื่อสารก็คือการรับฟังในสิ่งที่ ไม่เคยพูดถึงมาก่อน"   Business, that's easily defined - it's other people's money. คำว่าธุรกิจ เป็นคำนิยามง่าย ๆว่า คือสิ่ง

ลักษณะสำคัญ 12 ประการที่ทำให้คนประสบความสำเร็จในชีวิต

คุณลักษณะ 12 ประการที่ทำให้คนประสบความสำเร็ จในชีวิต 1. อธิบายความคิดของคุณในลักษณะที่ มีตรรกะ ตามทัศนะของเออร์วิน หากคุณเรียนรู้วิธีพูดได้ดี คุณจะได้รับประโยชน์อย่างมหาศาล นอกจากนั้นทำอย่างไรคนจึงจะประท ับใจในสิ่งที่คุณพูดหากเขายังมี ความยุ่งยากในการเข้าใจคุณ? ด้วยการอธิบายความคิดของคุณในลั กษณะสมเหตุสมผล คุณจะสาธิตถึงความคิดได้อย่างชั ดเจนและมีทักษะในการสื่อสารได้เ ป็นอย่างดี 2. อย่าปล่อยให้ตัวค ุณเองถูกดูถูกจากคนที่มั่งคั่งร ่ำรวย,มีตำแหน่งหรือมีอำนาจ ตามความรู้สึกทั่วไป คนเรามักจะมีสิ่งที่คล้ายคลึงกั นมากกว่าการเหมือนกับตัวคุณเอง คุณจะไม่เกรงกลัวคนบางคนที่อาจเ ป็นเพราะว่าเขาเป้นคนรวย,มีความ สำคัญ, หรือมีอำนาจน่าเกรงขาม สิ่งนี้ทำให้คุณได้รับประโยชน์อ ย่างยิ่งใหญ่ ในทำนองตรงกันข้าม หากคุณกลับมีความสำคัญมากขึ้นตล อดไป คุณจะไม่ไปดูถูกคนอื่น ทำให้คุณเป็นเพื่อนร่วมงานและใน ฐานะผู้นำที่ดีมากขึัน 3. รู้วิธีการเจรจาต่อรอง ไม่มีส่วนใดในชีวิตที่การเจรจาต ่อรองไม่ใช่เรื่องสำคัญ นอกจากนั้น เงินทองและทรัพยากรมักจะมีจำกัด ดังนั้นคุณควรตระหนักว่า เหนือสิ่งอื่นใด คุณทำในส
รูปภาพ
1. Safe, Healthy and Happy Workplace Creating a safe, healthy and happy workplace will ensure that your employees feel homely and stay with your organization for a very long time. Capture their pulse through employee surveys. 2. Open Book Management Style Sharing information about contracts, sales, new clients, management objectives, company policies, employee personal data etc. ensures that the employees are as enthusiastic about the business as the management. Through this open book process you can gradually create a culture of participative management and ignite the creative endeavor of your work force.. It involves making people an interested party to your strategic decisions, thus aligning them to your business objectives. Be as open as you can. It helps in building trust & motivates employees. Employee self service portal, Manager on-line etc. are the tools available today to the management to pr

รายนามเครือข่ายศูนย์ส่งเสริมขีดความสามารถในการแข่งขัน

รายชื่อสมาชิกเครือข่ายศูนย์ส่งเสริมขีดความสามารถในการแข่งขัน ( Competency Competitiveness Center)   รายชื่อสมาชิกเครือข่าย รหัสสมาชิก บทบาท/หน้าที่ ภารกิจ/เป้าหมาย/ความรับผิดชอบ/ประสบการณ์ 1. ศาสตราจารย์ ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ VIP ประธานที่ปรึกษาศูนย์กิตติมศักดิ์ ประธานที่ปรึกษาคณะกรรมการเครือข่ายศูนย์ 2. รองศาสตราจารย์ดร.สุวัฒน์ วัฒนวงศ์ VIP ที่ปรึกษาคณะกรรมการเครือข่ายศูนย์ฯ ที่ปรึกษาสายงานการศึกษา และหลักสูตรอุดมศึกษา 3. ผศ.ดร.ทวิพันธ์   พัวสรรเสริญ 25510110001 ผู้ริเริ่มก่อตั้งศูนย์และกรรมการกำกับศูนย์ ดำเนินการรวบรวมเครือข่ายจัดทำรายชื่อสมาชิกเครือข่ายและบริหารการตลาดโดยผ่านสื่อออนไลน์ทั้งหมด 4. ผศ.วัลลภ นิมมานนท์ 25510110002 ผู้ร่วมก่อตั้งศูนย์และกรรมการกำกับศูนย์ ประสานโครงการสายงานวิทยาลัยกรุงเทพสุวรรณภูมิ 5. นายศักดิ์ชาย ตัน 25510110003 ผู้ร่วมก่อตั้งศูนย์และกรรมการกำกับศูนย์ ประสานงานโครงการสายงานภาคตะวันออก