บทความ

ผลงานวิจัยเกี่ยวกับภาวะผู้นำแบบปรับเปลี่ยนของครู ตอนที่หนึ่ง

       ภาวะผู้นำแบบปรับเปลี่ยนในห้องเรียน: การขับเคลื่อนการเรียนรู้นักศึกษา,การมีส่วนร่วมของนักศึกษาลและการสร้างความเชื่อถือของครู         จุดประสงค์ของการศึกษานี้เพื่อเป็นการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำแบบปรับเปลี่ยนในชั้นเรียนระดับวิทยาลัย (เช่นแบบจำลองผู้นำแบบบารมี, แบบคำนึงถึงรายบุคคล,แบบสร้างสติปัญญา), ผลที่ได้จากการเรียน (ตัวอย่างเช่นการเรียนรู้แบบรับรู้,การรักการเรียนรู้,การบ่งบอกถึงแรงจูงใจ,ความพึงพอใจในการสื่อสาร), การมีส่วนร่วมของนักศึกษา,และการรับรู้ของนักศึกษาเกี่ยวกับความน่าเชื่อถือของครู (ตัวอย่างเช่นการมีสมรรถนะ,ความน่าเชื่อถือไว้วางใจ,ค่านิยม)   ผู้มีส่วนร่วมในการวิจัย 165 คนที่รายงานผลเกี่ยวกับภาวะผู้นำของผู้สอนนอกจากพฤติกรรมและการเรียนรู้ของห้องเรียนของพวกเขาเอง  ผลวิจัยให้ข้อเสนอแนะว่าองค์ประกอบสามส่วนของภาวะผู้นำแบบปรับเปลี่ยนในการสอนมีความสัมพันธ์ในระดับปานกลางถึงระดับสูงที่เกี่ยวกับตัวแปรผลที่ได้รับทั้งหมด การวิจัยในอนาคตควรพิจารณาพฤติกรรมการสอนที่แสดงถึงภาวะผู้นำแบบปรับเปลี่ยนในห้องเรียน, ในลักษณะข้ามวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน          การสอนที่ดีจำเป

ทฤษฎีสับสน ตอนที่หนึ่ง (Chaos Theory)

รูปภาพ
                  ทฤษฎีสับสนคืออะไร ?        ผู้คิดไกลคือลอเร็นซ์ พอยแคร์     เป็นเทคนิคนำใช้อันได้แก่             ศึกษาแง่ระบบที่ซับซ้อน     และระบบพลวัตรไม่หยุดนิ่ง           เปิดเผยอิงสิ่งที่ไม่ยอกย้อน     ในรุปแบบคำสั่งที่แน่นอน             นำสะท้อนพฤติกรรมความสับสน             ทฤษฎีสับสนดังคำกลอน     คือสะท้อนการศึกษาคุณภาพ     ในพฤติกรรมตามเวลาไม่เรียบราบ  เป็นสภาพไม่คงที่และแน่นอน     ในรูปแบบไม่เชิงเส้นพลวัตร          สังเกตวัดพฤติกรรมทุกบทตอน     ไร้ตัวแปรบรรยายเป็นคำกลอน       ความแคลนคลอนของระบบเปลี่ยนแปลงไป             ที่เคยก้าวเดินตามเยี่ยงเก่าก่อน  กลับผันผ่อนก้าวล้ำไม๋ซ้ำซาก     ในค่านิยมเคยเป็นเช่นฐานราก       เมื่อเริ่มจากพฤติกรรมดังกล่าวหนา     เป็นสิ่งที่ซับซ้อนอย่างสูงส่ง         ยังยืนยงผลกระทบถวิลหา     หาใช่เพลงซ้ำบทถูกตีตรา            สิ่งถามหาไม่แน่นอนในความจริง             ระบบความสับสนของเวลา   เมื่อนำพาแนวคิดคณิตศาสตร์     คือความหมายการแสดงถึงบทบาท ที่สามารถอ่อนไหวในเงื่อนไข     ที่เป็นหลักเบื้องต้นอย่างแท้จริง      หรือสิ่งอิงคำทำนายเบื้

กลอนสามท่อนเรื่อง "องค์การแห่งการเรียนรู้" (Learning Organization)

รูปภาพ
                        องค์การแห่งการเรียนรู้  เปิดประตุความรู้ยุคใหม่ มีวินัยห้าประการ         โดยกูรูผู้รู้ท่านคิดอ่าน         ผู้เชี่ยวชาญท่านพบเจอ   คือเปีเตอร์ เซงเก้ (Peter Senge)          จากผลงานวารสาร            บิวสิเนสสเตรทเตอร์จี้    ได้พาทียกย่องว่า          "นักกลยุทธ์แห่งศตวรรษ     ท่านเจนจัดศึกษา          ทั่วพาราองค์การ                 ต้องสามารถปรับตัว    ไม่ควรกลัวเปลี่ยนแปลง  โดยจัดแจงวิจัย          เป็นเวลาหลายปี               เอ็มไอทีศึกษา              จากตำราที่แต่ง          ที่โด่งดังสารทิศ               โดยความคิดเฉียบคม      เพื่อผูกปมความรู้          ภายใต้ชื่อเรียกขาน           วินัยข้อที่ห้า                  คือ "The Fifth Discipline"                 ตีพิมพ์ร่วมล้านเล่ม     มุ่งจัดเต็มจำหน่าย         ในปี 1970          ในนิยามคำว่า "วินัย"         เทคนิคใช้ใคร่ครวญ        คอย่ทบทวนทุกเวลา          นำมาใช้ปฏิบัติ                 เพื่อคัดสรรพัฒนา          เพื่อศึกษาทักษะ          รวมทั้งแก่นสมรรถนะ         ชัยชนะเพื่

องค์ประกอบสำคัญในการสร้างชุมชนคนเก่ง โดยอาดี แกสเกล

          สื่อทางสังคมให้โอกาสอย่างมากมายสำหรับทีมงานทรัพยากรมนุษย์สำหรับการทำงานให้เกิดประสิทธิผลมากขึ้น และเป็นส่วนสำคัญพื้นฐานของสิ่งที่เรียกว่าเป็นชุมชนคนเก่ง   ชุมชนคนเก่งเป็นสถานที่ที่เป็นสิ่งส่งเสริมเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย, มีบุคคลที่มีคุณสมบัติในการจัดหาตัวแทนบริษัทในการพัฒนาต่อท่ออย่างยั่งยืนสำหรับการแสวงหาแหล่งบุคคล, การสรรหา,การฝึกอบรมและพัฒนา   การมีชุมชนคนเก่งที่เข้มแข็งมีผลต่อการแบ่งส่วนของการจัดการความเก่งของคุณคุณได้อย่างมากมายและดูดี   มันช่วยให้คุณวางแผนกำลังคน, จัดการกับชื่อเสียงของนายจ้าง, พัฒนาความเหมาะสมในเชิงวัฒนธรรมอย่างเข้มแข็งเหมาะสมและผดุงไว้ซึ่งความสัมพันธ์กับศิษย์เก่า อย่างไรก็ตาม  ในฐานะที่เป็นชุมชนใดก็ตาม มีหลายสิ่งหลายอย่างที่ช่วยสร้างชุมชนความเก่งของคุณเท่าทีีทำได้    ในที่นี้มีอยู่ 5 ประการที่ผู้เขียนมีความมั่นใจว่าจะสร้างผลผลิตในชุมชนคนเก่ง          1. มีเป้าประสงค์ชัดเจน  เข้าใจในสิ่งที่คุณต้องการบรรลุความสำเร็จในชุมชนของคุณ          2. มีห้องประชุมที่แสดงออก  สื่อทางสังคมจำเป็นต้องมีส่วนในการยอมรับวัฒนธรรมองค์การของคุณสำหรับแผนริเริ่มดังเช

กลอนสามท่อน "แนวคิดรัฐประหาร"

          รัฐประหารแบบไทยไทย  ประเทศใหนไม่มีเหมือน  สะกิดเตือนคนไทย      แปดสิบปีที่ผ่านไป           เกิดแล้วไซร้สิบแปดครั้ง    ไม่เห็นครั้งใดดี      มีแต่เดินถอยหลัง            ทั่วโลกทั้งติฉิน                ทั่วแผ่นดินร้อนระอุ      ก่อให้เกิดแตกแยก           แผ่นดินแตกเป็นก๊ก           ต่างหยิบยกโจมตี           ด้วยวิธีแยบยล           อุบายกลแยบคาย             เพื่อยื้อแย่งอำนาจ      ต้องหาความชอบธรรม     เพื่อหาทางทำลาย            ด้วยมุ่งหมายไม่ดี      โดยเบื้องหน้าดูดี            แต่หลังฉากเปลี่ยนสี          และย่ำยีคนไทย      ทำให้ชาติล้าหลัง            คอยฉุดรั้งก้าวไป              คนส่วนใหญ่ยากจน           รัฐประหารนั้นเกิดขึ้น   ทุกวันคืนเป็นอยู่               เพราะมีผู้คุมอำนาจ      คอยกำกับรัฐบาล            มุ่งเผาผลาญความดี          และป้ายสีหาเรื่อง      วางกับดักต่อเนื่อง           คอยคุยเขื่องทับถม           มุ่งคอยล้มรัฐบาล      อาจเป็นการยึดอำนาจ      ประชาราษฎร์ข่มขืน          คนถือปืนคุมเกมส์           รัฐประหารแบบเนียน   โดยคิดเขียนวางแผน         ด้วยว

"สุภาษิต นักเผด็จการ" ตอนที่สอง

"ที่ใดที่ประชาชนเกรงกลัวรัฐบาล ที่นั่นมีเผด็จการทรราชย์, ที่ใดที่รัฐบาลเกรงกลัวประชาชนที่นั่นมีเสรีภาพ" ―โทมัส เจฟเฟอร์สัน "ไม่มีเผด็จการทรราชย์ใดที่เลวร้ายมากกว่าการบังคับคนให้ชดใช้ในสิ่งที่เขาไม่ต้องการเพียงแต่เพราะเขาคิดว่าว่ามันคงจะเป็นดีสำหรับเขา"―โรเบอร์ต เอ.ไฮนล "หากเผด็จการทรราชย์และการกดขี่เกิดขึ้นมาในแผ่นดินนี้ ก็จะเป็นหน้ากากของการต่อสู้กับศัตรูกับชาวต่างชาติ"  - เจมส์ เมดิสัน "ประชาธิปไตยไม่มีอะไรมากไปกว่ากฎของมวลชน,  เมื่อคนทั้งหมด 51 เปอร์เซ็นต์อาจจะถือสิทธิ์เหนือกว่าคนอีก 49 เปอร์เซ็นต์   - โทมัส เจฟเฟอร์สัน "การไม่ยอมให้ข้อมูลข่าวสาร (ปกปิดข้อมูล) คือสาระสำคัญของนักเผด็จการ  การควบคุมการไหลของข้อมูลข่าวสารคือเครื่องมือของความเป็นเผด็จการ"  - บรู๊ซ โควิลล์ "การเป็นขบถต่อเผด็จการทรราชย์คือการเชื่อฟังต่อพระเจ้า"  - โทมัน เจฟเฟอร์สัน "ประชาธิปไตยที่สร้างหรือเตรียมการอย่างดีสำหรับความเป็นสมัยใหม่,  สงครามวิทยาศาสตร์ต้องฉุดรั้งการเป็นประชาธิปไตย  ไม่มีประเทศใด ๆสามารถเตรียมการได้อ

"ตัวอย่าง กลอนสามท่อน เรื่องการปรองดอง"

             การปรองดองเมื่อครั้งก่อน   ไม่อาจผ่อนผันความร่วมมือ  เพราะยึดถืออัตตาตั้ง     แต่ปรองดองครั้งหลัง                   กลับระวังมากกว่าก่อน        ไม่อาจทำใจได้เช่นเดิม     หากเรามุ่งส่งเสริม                       สามัคคีของชาติไทย          ดำรงไซร้ความเที่ยงธรรม     ต้องยอมถอยคนละก้าว                ยอมแพ้กันบ่างเป็นไร          ส่วนรวมไทยได้ประโยชน์              นึกถึงคนไทยทั่วหล้า          ชาวประชาเป็นสุข              เพื่อปลุกฟื้นคืนชีพ     เศรษฐกิจไทยเร่งรีบ                    เป็นประทีบความหวัง          ความชิงชังคืนกลับ     มาเริ่มรักผองไทย                       มีไมตรีเมตตา                   ทั่วอาณามีสุข     เริ่มคลี่คลายหายทุกข์                  ที่ล้มลุกเริ่มเดิน                 บางคนเหินสู่นภา              สามัคคีกันไว้น้องพี่            เหมือนก่อนเก่าเคยเป็น       อย่าเพียงมุ่งเล็งเห็น     ฝักไฝ่แก่อำนาจ                         เกียรติยศเงินตรา                พาให้จิตหมองมัว     เร่งแก้ไขตนเอง                         ไม่ข่มเหงคนไทย               เพื่อได