บทความ

การพัฒนาระบบการศึกษา เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ

รูปภาพ
         การศึกษาเพื่อปวงชน เป็นการศึกษาที่ให้โอกาส และความเท่าเทียมกันของประชาชน โดยเฉพาะประชาชนในกลุ่มที่ยากจน และขาดโอกาสทางการศึกษาเพราะความยากจน ไม่สามารถเข้าเรียนในสถาบันการศึกษาที่มีคุณภาพได้ โดยเฉพาะคนในเมืองมีเงินที่จะเรียนกวดวิชา, มีอาจารย์ดี ๆ คอยถ่ายทอดวิชาหรือการเตรียมสอบได้ ทำให้คนจนไร้โอกาสเรียนเนื่องจากการขาดทุนรอนยังไม่เพียงพอ แต่ทุนการศึกษายังมีน้อย  ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงวิสัยทัศน์ของการศึกษาในแต่ละระดับการศึกษา เพราะโครงสร้างการศึกษาไทยนั้นยังมีการครอบงำด้วยระบบอำนาจนิยม ( authoritarian ) และเน้นระบบสายการบังคับบัญชาแบบระบบราชการแบบโบราณ ทำให้มีการแบ่งขีดขั้นของยศชั้นตำแหน่งต่าง ๆ รวมถึงระบบการศึกษาในทุกระดับของภาคเอกชนก็อิงระบบราชการ  ทำอย่างไรระบบการศึกษาไทยจึงจะสร้างอิสรภาพในการเรียนของผู้เรียน ซึ่งหมายความว่าผู้เรียนปรารถนาจะเรียนอะไรก็เป็นความต้องการของผู้เรียน มิใช่การเรียนในกรอบที่มหาวิทยาลัยกำหนดแต่เพียงอย่างเดียว และการศึกษายังไม่สามารถเท่าทันต่อความก้าวหน้าในโลกาภิวัตน์ของโลก   คงไม่มีประเทศใดที่สามารถบรรลุการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืนหากปราศจากการลงทุนอย่าง

การศึกษาเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างสร้างสรรค์

      No country can achieve sustainable economic development without substantial investment in human capital. Education enriches people’s understanding of themselves and world. It improves the quality of their lives and leads to broad social benefits to individuals and society. Education raises people’s productivity and creativity and promotes entrepreneurship and technological advances. In addition it plays a very crucial role in securing economic and social progress and improving income distribution. The main purpose is to show the role of education in economic development and the effect of education on labour productivity, poverty, trade, technology, health, income distribution and family structure. Education provides a foundation for development, the groundwork on which much of our economic and social well being is built. It is the key to increasing economic efficiency and social consistency. By increasing the value and efficiency of their labor, it helps to r

ทฤษฎีองค์การขั้นสูง (advanced organization theory)

                                          ทฤษฎีองค์การยุคคลาสสิค                                      (Classical Organization theory) เรียบเรียงจาก Jay M.Shafritz และ J.Steven OTT, Classics of Organization Theory, (2001)      ยุคนี้ยังไม่มีการกำหนดวันที่เริ่มต้นในการคิดเกี่ยวกับองค์การเกิดขึ้นอย่างไร และองค์การควรจะจัดโครงสร้าง และจัดการอย่างไร  ข้อเขียนหนึ่งที่อธิบายเกี่ยวกับการจัดการและองค์การเมื่อย้อนหลังเวลาที่ยาวนานได้มาจากจุดกำเนิดที่เรียกว่าการพาณิชยกรรม ข้อเขียนจำนวนมากได้เรียนรู้จากการจัดองค์การของมุสลิม, ฮิบบรู, และโรมัน หากเราใช้เวลาก็สามารถสร้างกรณีตัวอย่างของสิ่งที่พวกเรารู้เกี่ยวกับทฤษฎีองค์การซึ่งเป็นจุดกำเนิดองค์การในยุคโบราณ และยุคกลาง หลังจากนั้นเป็นต้นมาก็เป็นยุคอริสโตเติ้ลผู้ประพันธ์หนังสือเกี่ยวกับความสำคัญของวัฒนธรรมที่มีต่อระบบการจัดการเทมิยาเป็นผู้ใช้วิธีการวิทยาศาสตร์ในการเขียนเค้าโครงเี่กี่ยวกับหลักการบริหารภายใต้กรอบความคิดของอิสลาม และมาเคียเวลลีผู้ที่ให้ความรู้แก่ชาวโลกถึงวิธีการใช้อำนาจ และรักษาอำนาจอันยาวนาน      เพื่อที่ตอบสนองสิ่งที่ชี้ถึงรากฐานอยา

วิธีคิดแบบเศรษฐี

รูปภาพ
     เรียบเรียงจาก Scheng 1      คุณเคยมีวิธีคิดแบบเศรษฐีหรือไม่ หากไม่มีแล้ว ทำอย่างไรสำหรับโลกใบนี้ คุณจึงจะก้าวไปสู่การความมั่งคั่ง  ความต้องการที่จะร่ำรวยเป็นก้าวแรกในการก้าวไปสู่ความร่ำรวย หากคุณต้องการรวยจะต้องมีตั้งใจแน่วแน่ และใช้เวลาสร้างจิตใจการเป็นเศรษฐี และอะไรคือการสร้างจิตใจแบบเศรษฐี จิตใจแบบเศรษฐีหมายถึงการแสวงหาความมั่งคั่งในวิถีทางบวก จิตใจแบบเศรษฐีรู้ถึงโอกาสที่จะก้าวไปสู่ความร่ำรวยที่เกิดขึ้นในทุกหนแห่ง      จิตใจแบบเศรษฐีจะยอมรับความล้มเหลวเป็นส่วนหนึ่งของการเรียนรู้ไปสู่ความร่ำรวยซึ่งการดำเนินชีวิตมีลักษณะขึ้น ๆ ลง  จิตใจแบบเศรษฐีไม่ได้เชื่อในความร่ำรวยที่ได้มาอย่างวิธีสกปรก แต่ความร่ำรวยได้มาจากสิ่งที่ดีงาม การรำ่รวยด้วยวิถีทางที่ซื่อสัตย์เป็นวิธีที่ดีที่สุดในการรักษาความมั่งคั่งได้      คุณเคยมีจิตใจแบบเศรษฐีหรือไม่?  คุณเชื่อใหมว่าคุณสามารถสร้างความร่ำรวย และสิ่งที่นำไปสู่ความร่ำรวย?  คุณเชื่อใหมว่าคุณสามารถทำงานหนัก และทำงานอย่างชาญฉลาดเพื่อไปสู่ความร่ำรวย?  หากคุณตอบในเชิงบวก ก็แสดงว่าคุณมีจิตใจแบบเศรษฐีแล้ว   อย่างไรก็ตามจิตใจแบบเศรษฐีไม่มีเพียงเป็นการเปลี