วิทยาลัยทองสุข:บริการทางวิชาการแก่สังคม เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐศาสตร์ (Introduction in Politcal Science)

-รัฐศาสตร์คือการศึกษาอย่างเป็นระบบเกี่ยวกับรัฐและรัฐบาลรัฐศาสตร์คือสังคมศาสตร์ที่ยอมรับการปฏิบัติและทฤษฎีทางการเมือง และทฤษฎีทางการเมือง,การวิเคราะห์ระบบการเมือง,และศึกษาพฤติกรรมทางการเมือง
-—ความหมายของรัฐศาสตร์
—   ในฐานะที่เป็นศาสตร์ – จุดหมายเพื่อความเข้าใจเกี่ยวกับรัฐ, หลักการและอุดมคติเกี่ยวกับรัฐ
—   องคาพยพการเมือง – การมีส่วนร่วมของประชาชนในชุมชนทางการเมือง
—   ความสัมพันธ์ – ของบุคคลหรือกลุ่ม พาหะและกลุ่มบุคคลที่มีต่อรัฐ และรัฐกับรัฐอื่น
—ขอบข่ายเกี่ยวข้องกับอะไร?
—   ทฤษฎีการเมือง – คือองคาพยพทั้งหมดของหลักการที่เกี่ยวข้องกับจุดกำเนิด,รูปแบบ,พฤติกรรม และวัตถุประสงค์ของรัฐ
—   กฎหมายมหาชน – คลอบคลุมถึงกฎหมายรัฐธรรมนูญ, กฎหมายปกครอง,และกฎหมายระหว่างประเทศ
—   รัฐประศาสนศาสตร์ – คือวิธีการและเทคนิคที่นำไปใช้ในการจัดการเกี่ยวกับกิจการสาธารณะอย่างแท้จริงโดยมี 3 ฝ่ายของรัฐบาล
—กล่าวอย่างง่าย ๆ คือรัฐศาสตร์คือการศึกษาเกี่ยวกับการเมือง ขอบเขตที่เกี่ยวกับนักรัฐศาสตร์ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะ, การเมืองระดับชาติ,ทฤษฎีการเมือง,ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ,และการเมืองเปรียบเทียบ
—คำว่าการเมืองมาจากภาษากรีกโบราณ เช่นเอเธนส์, สปาร์ต้า,และโครินห์ ซึ่งหมายถึงรัฐชาติจากคำว่า โปลิศ (Polis)
—แฮรี่ ทรูแมน กล่าวว่า “การเมืองคือเกมส์ที่น่าตื่นเต้น เพราะการเมืองคือรัฐบาล เป็นศิลปะของรัฐบาล”
—อนีริว บีแวน กล่าวว่า “ข้าพเจ้าไม่เคยยอมรับว่าการเมืองคือแวดวงของศีลธรรม แต่มันเป็นแวดวงของผลประโยชน์”
—ความหมายของคำว่าการเมือง : คือ Poli ในภาษาละติน หมายถึงทุกอย่าง เปรียบเหมือนปาราสิตของเลือดทุกขุมขน
“การเมืองคือศิลปะอันนุ่มนวลที่ต้องได้เสียงโหวตจากคนจน และได้รับเงินสนับสนุนจากคนรวยโดยสัญญาว่าจะปกป้องผลประโยชน์จากคนอีกฝ่ายหนึ่ง”
ขอบเขตวิชาทางรัฐศาสตร์
ก.ทฤษฎีทางการเมือง
ข.กฎหมายมหาชน
ค.รัฐประศาสนศาสตร์
สิ่งเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่น ๆ   ได้แก่ ประวัติศาสตร์, เศรษฐศาสตร์,ภูมิศาสตร์, สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา,จิตวิทยา,ปรัชญา,สถิติและตรรกศาสตร์, และนิติศาสตร์
หน้าที่และความสำคัญของรัฐศาสตร์ คือการค้นพบหลักการที่เกี่ยวโยงกับกิจการสาธารณะซึ่งเป็นการรักษาตัวแบบจำลองที่ประยุกต์ใช้กับเนื้อหาสาระของสิ่งที่เกี่ยวข้องกับเจ้าหน้าที่ราชการและพลเมืองเอกชน
—การศึกษาเพื่อสร้างการเป็นพลเมือง
— ก.  จุดประสงค์ขั้นพื้นฐานของหลักสูตรรัฐศาสตร์คือเป็นอุปรากรสร้างนักศึกษาให้มีหน้าที่และพันธะในการเป็นพลเมืองแบบประชาธิปไตย
— ข.  ในส่วนที่จำเป็นต่อการศึกษาเสรีภาพ คือทำให้คนฉลาด,เป็นพลเมืองที่รับผิดชอบ,พิทักษ์ปกป้องประชาธิปไตยโดยไม่โง่เขลาหรือไม่ใส่ใจ
ค. ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับรัฐบาล    พลเมืองดี ควรรู้ถึงสิ่งที่รัฐบาลดำเนินการ สิ่งที่เป็นสิทธิของเขาและภาระรับผิดชอบของตัวแทนที่ได้รับการเลือกตั้ง และสิ่งที่เป็นจุดยืนของพวกเขา
แนวคิดเกี่ยวกับรัฐและรัฐบาล
—รัฐ (state) คือชุมชนของบุคคลจะมีมากหรือน้อย โดยเข้าครอบครองพื้นที่ที่มีอัตราส่วนที่แน่นอน มีรัฐบาลเป็นของตนเองซึ่งมีองคาพยพของผู้ที่อยู่อาศัยที่มี
—ความเชื่อฟัง และมีอิสรภาพจากการควบคุมภายนอก
—เกาะฟิลิปปินส์จึงเป็นรัฐ ๆหนึ่ง
—องค์ประกอบของรัฐ
—ก. ประชาชน หมายถึงมวลชนของผู้ที่อาศัยอยู่ในรัฐ
—    คำว่า”ประชาชน เป็นการตอบคำถามที่ว่าใครเป็นผู้ปกครองใคร”
—     ไม่มีความต้องการที่ระบุเฉพาะอย่างใดอย่างหนึ่ง
—     “......รัฐไม่ควรจะเล็กเกินไป หรือไม่ใช่ยิ่งใหญ่เกินไป แต่ไม่มีเอกภาพ”
—ข.พรมแดนหรืออาณาเขต  หมายถึงพื้นที่ที่ไม่มีการแบ่งแยก
—   คำว่า “พื้นที่” คือสถานที่ใหน ? บนพื้นดิน,บนชายทะเล, บนท้องฟ้าอากาศ

—จุดกำเนิดของรัฐ
—   1. ทฤษฎีเทวสิทธิ์ (Devine right theory)
—   2. ทฤษฎีตามความจำเป็น หรือทฤษฎีการใช้พลังอำนาจ
—   3. ทฤษฎีแบบพ่อปกครองลูก (Pateristic theory)
—   4. ทฤษฎีสัญญาทางสังคม (Social Contract theory)
—รัฐแตกต่างจากชาติอย่างไร?
—    รัฐคือแนวคิดทางการเมือง(Political concept) ในขณะที่ชาติคือแนวคิดเกี่ยวกับเชื้อชาติ (ethnic concept)
—    รัฐไม่ได้ขึ้นอยู่กับการควบคุมดูแลจากภายนอก ในขณะที่ชาติอาจจะหรือไม่อาจจะมีอิสรภาพของการควบคุมจากภายนอก
—“รัฐเดี่ยว (single state) อาจประกอบด้วยชาติหรือประชากรตั้งแต่หนึ่งหรือมากกว่า และในทำนองตรงกันข้ามอาจเป็นการสร้างขึ้นจากรัฐหลายรัฐก็ได้
—เป็นที่ยอมรับว่ามีลักษณะคล้ายคลึงกันก็คือ โดยธรรมดา “การกระทำของรัฐบาลเปรียบเสมือนการกระทำของรัฐ”
—รัฐไม่สามารถมีขึ้นได้หากปราศจากรัฐบาล แต่เป็นไปที่จะมีรัฐบาลโดยปราศจากรัฐ
—รัฐบาลอาจมีการเปลี่ยนแปลง รูปแบบของรัฐอาจมีการเปลี่ยนแปลง แต่รัฐเป็นองค์ประกอบที่สำคัญก็คือสิ่งที่เป็นปัจจุบัน ยังคงมีความเหมือนกัน

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ระบบการเมืองที่ดีเหมือนปลาในอ่างแก้วที่มองเห็นตัวปลาชัดเจน

ตัวแบบจำลองภารกิจของแอสริช (Ashridge Mission Model)

การปฏิรูปการศึกษาในต่างประเทศ