บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก พฤศจิกายน, 2013

การวิเคราะห์ Swot Analysis ระหว่างแนวคิดประชาธิปไตยแบบรากหญ้า กับแบบอนุรักษ์นิยม

            การเมืองไทยได้มีการต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยที่แท้จริง ได้กำเนิดขึ้นมาตั้งแต่การเปลี่ยนแปลงการปกครองของคณะราษฏร์โดย ดร.ปรีดี พนมยงค์ปรารถนาจะให้มีประชาธิปไตยอย่างแท้จริง แต่การเมืองการปกครองที่ผ่านมากลุ่มชนชั้นแนวอนุรักษ์นิยมได้เข้าครอบครองและกลายเป็นชนชั้นอภิสิทธิ์มาเป็นเวลานาน ยามใดที่ประชาชนได้มีผู้นำที่มาช่วยเหลือให้มีความเข้มแข็งหรือมีการพัฒนาดีขึ้นเมื่อใด ยามนั้นฝ่ายอนุรักษ์นิยมฝ่ายขวาก็จะไม่ชื่นชอบ แต่จะสร้างวาทะกรรมที่หลอกลวงประชาชนให้คลั่งไคล้รูปแบบเก่า ๆ โดยไม่ได้หันมามองสิ่งใหม่ ๆ ที่จะพัฒนาสังคมให้ดีขึ้น ทั้งนี้เป็นการรักษาความได้เปรียบในชนชั้น  และอภิสิทธิ์ต่าง ๆที่มีอยู่อย่างมากมาย แม้แต่กระทั่งกระบวนการกฎหมายก็ไม่มีมาตรฐานเพราะกลายเป็นกฎหมายชนชั้น  ซึ่งเป็นสิ่งที่สังคมที่คนชั้นกลางจำนวนมากก็ลุ่มหลงและอยากมีอภิสิทฺธิ์เหมือนกับคนชั้นสูง  ซึ่งไม่ได้มองไปยังชนชั้นล่าง   สำหรับความแตกต่างระหว่างประชาธิปไตยแบบก้าวหน้าของคนส่วนใหญ่ กับประชาธิปไตยแบบล้าหลังโบราณ มีความแตกต่างอย่างไร ทัศนะความคิด       ...

แนวคิดของรองประธานกรรมาธิการทัชจานี กับการถกวาทะในการประชุม "เส้นทางการเติบโตสำหรับธุรกิจที่เป็นมิตรกับการบริหารภาครัฐ

         รองประธานกรรมาธิการทัชจานี กับการปาฐกถาวาทะในการประชุม "เส้นทางการเติบโตสำหรับธุรกิจที่เป็นมิตรกับการบริหารภาครัฐ  ที่ชาเลแมกเน่   วันที่ 29 ตุลาคม 2556  เวลา 9.15 - 9.30 น. "สวัสดีท่านสุภาพบุรุษและสุภาพสตรีที่เคารพ  นับว่าเป็นสิ่งที่ผมมีความภูมิใจที่รับเชิญท่านมาในการประชุมในประเด็นซึ่งมีความสำคัญอย่างยิ่ง  กล่าวคือทำอย่างไรจึงจะปฏิรูปการบริหารภาครัฐในยุโรปเพื่อช่วยให้เพิ่มพลังความเติบโตเศรษฐกิจ  ภายใต้ชื่อเรื่องเส้นทางสู่ความเติบโต: เพื่อธุรกิจเป็นมิตรกับการบริหารภาครัฐ"     มีคำสำคัญอยู่สองคำคือ "ความเติบโต" และมิตรภาพในเชิงธุรกิจ  เราจำเป็นที่่จะสืบเรื่องราวย้อนหลังเกี่ยวกับยุโรป เพื่อส่งเสริมให้ความเติบโตทางเศรษฐกิจดีขึ้น และความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นเพื่อธุรกิจและพลเมืองของเรา   หนทางสำคัญในการบรรลุถึงสิ่งนี้ก็คือการทำให้เกิดความมั่นใจว่าบริษัททั้งหลายกำลังดำเนินงานภายใต้สิ่งแวดล้อมทางธรุกิจที่นำเสนอ   พวกเราไม่สามารถเติบโตได้โดยปราศจากการแข่งขัน    รัฐบาลไม่ว่าจะเป็นยุโรป,ระดับชาติหรื...

กลวิธีการเปลี่ยนแปลงองค์การทางการเมือง เพื่อความสัมฤทธิผล

         ปัจจุบันการเคลื่อนไหวเพื่อการเ ปลี่ยนแปลงรัฐธรรมนูญ ถือเป็นเพียงส่วนหนึ่งของตัวบทก ฎหมายที่สำคัญสูงสุดในการปกครอง ประเทศ หากรัฐธรรมนุญที่ได้มีการเปลี่ย นแปลงในลักษณะที่เจือปนในสิ่งที่ มิใช่ความต้องการของประชาชนส่ว นใหญ่ย่อมเกิดปัญหาในลักษณะของก ารเรียกร้องที่ไม่มีการสิ้นสุด ดังนั้นผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่สำ คัญในปกครอง จำเป็นต้องมีแนวทางตามที่ Kotter 1995 ที่ผู้นำมักละเลย,มองข้าม หรือประเมินต่ำกว่าความเป ็นจริงนั้น ได้แก่ ปัจจัยที่ 1 ต้องมั่นใจว่าความต้องการเปลี่ย นแปลงของผู้นำบริหารนั้น จะต้องมีการพิสูจน์ และมีการสื่อสารชักชวนความต้องก ารการเปลี่ยนแปลงนั้น ๆ ปัจจัยที่ 2 มีการจัดสรรแผนงาน, ผู้นำบริหารจะต้องปรับปรุงทางเล ือกหรือกลยูทธ์เพื่อการเปลี่ยนแ ปลงนั้น ๆ ปัจจัยที่ 3 จะต้องสร้างแรงสนับสนุนและเอาชน ะการต่อต้านการเปลี่ยนแปลง ผู้นำบริหารจะต้องสร้างแรงสนับส นุนภายในและลดแรงต่อต้านในการเปลี่ยนแปลงโดยผ่านการมีส่วนร่วมอย่างแพร่หลายในกระบวนการเปลี่ยนแ ปลง ในท่ามกลางปัจจัยอื่น ๆ ที่นำไปสู่ความสำเร็จ ปัจจัยที่ 4 จะต้องสร้างความมั่นใจว่าแรงสนั บสนุนจากผู้บริหา...