บทความ

หลักการพื้นฐานของความสำเร็จทางธุรกิจ

                                         หลักการ พื้นฐานของความสำเร็จทางธุรกิจ                            - สัมภาษณ์กับ Dr.John Demartini โดย Pavlina Papalouka 1 การค้นหาความต้องการในตลาด องค์ประกอบแรกในการสร้างธุรกิจคือในการค้นหาสิ่งที่โลกต้องการ, สิ่งที่ให้บริการ, สิ่งที่เป็นปัญหา หากคุณไม่ได้เติมเต็มความต้องการ, คุณก็ไม่มีธุรกิจ 2 ค้นหาสิ่งที่คุณรักที่จะทำ  อุดมคติที่คุณไฝ่หาในสิ่งที่เป็นแรงบันดาลใจให้คุณ และ ทำในสิ่งที่ คุณรักที่จะ ทำมากที่สุด นอกจากนี้คุณยังกำลังเติมเต็มความต้องการของบุคคล  ดังนั้นหากคุณสามารถ ระบุสิ่งที่ต้องการอยู่แล้วแสวงหาบุคคลที่สร้างแรงดลใจให้คุณได้เติมเต็ม ในขณะนี้คุณมีสององคประกอบคือ ความต้องการจากสังคม และแรงปรารถนาจะเติมเต็มที่อยู่ภายในตัวคุณ 3 ระบุลำดับความสำคัญการกระทำอย่างมากที่สุด ที่จะช่วยคุณเติมเต็มความต้องการ เหล่านั้น คุณจะต้องระบุว่าอะไรคือการกระทำที่มีลำดับความสำคัญมากที่สุดที่จะช่วยให้คุณเติมเต็มความต้องการ จงทำให้มั่นใจว่าคุรกำลังกระทำในลำดับสำคัญที่สูงที่สุดและเป็นการส่งมอบการกระทำที่มีลำดับความสำคัญน้อยที่สุด 4 จงมอบสิ่งที่มีลำ

การวัดผลความสำเร็จของประเทศชาติตามทัศนะของ ไมเคิ้ล พอร์ตเตอร์ "จีดีพีมิใช่วิถีทางที่่ดีที่สุดในการวัดความสำเร็จของประเทศชาติ"

                   เมื่อแปดสิบปีที่ผ่านมานานแล้ว   มาตรการวัดผลองค์รวมครั้งแรกของรายได้ประชาชาติของประเทศ ซึ่งต่อมาเรียกว่า "ผลผลิตมวลรวมประชาชาติ (Gross Domestic Product)" นำมาเผยแพร่ และพัฒนาขึ้นโดยนักเศรษฐศาสตร์ที่ชื่อไซมอน คูซเน็ตซ์ในรายงานต่อกรรมาธิการสภาคองเกรสในการวัดผลงานกิจกรรมทางเศรษฐกิจในระหว่างมีภาวะดีเปรสชั่น    จีดีพีจึงได้มีการนิยามว่าเป็นวการวัดผลความก้าวหน้าประชาติ   ความเติบโตของจีดีพีบอกเราว่าประเทศกำลังปรับปรุงไปอย่างไร? และจีดีพีต่อหัวได้เป็นมาตรการวัดผลที่เฉพาะเจาะจงของมาตรฐานการดำรงชีพ          อย่างไรก็ตาม เป็นเวลาหลายทศวรรษแล้วนักเศรษฐศาสตร์จำนวนมากที่มีมากขึ้นเริ่มตั้งคำถามว่าจีดีพีเป็นคำตอบที่เพียงพอต่อการวัดผลความสำเร็จของประเทศชาติได้จริงหรือ   ยิ่งกว่านั้นหลังจากวิกฤติการเงินในปี ค.ศ. 2008  นักเศรษฐศาสตร์ที่ชื่อโยเซฟ สติลิทซ์, อมาตยา เซ็น และยีน-พอล ฟิตุสซีได้เปิดเผยรายงานเอกสารเรื่อง "เครื่องมือวัดผลการดำรงชีวิตที่ผิดพลาด"  ซึ่งให้ทัศนะว่า "หากเรามีเครื่องมือวัดผลที่ผิดพลาด เราก็ยังคงดิ้นรนไปสู่ในสิ่งที่ไม่ถูกต
รูปภาพ
พันธกิจที่ 4 บริการวิชาการแก่สังคม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่   4.1 สร้างสรรค์วิชาการจากงานวิจัย และการจัดการฝึกอบรมแก่สังคม                                                                                            4.2  4.2 เผยแพร่ความรู้วิชาการแก่สาธารณะ                                                                                                                    4.3 เผยแพร่ความรู้เป็นภาษาต่างประเทศ               เป้าประสงค์                    ( Goal )             ตัวชี้วัด ( KPI ) เป้าหมาย ( target )   (ปีการศึกษา) 57  58   59     60    61    กลยุทธ์ ( Strategy )   โครงการ/กิจกรรม หน่วยงานรับผิดชอบ 1 . สร้างสรรค์งานวิชาการจากงานวิจัย     และการจัดการฝึกอบรมแก่สังคม 1. ร้อยละของงานวิชาการจาก       งานวิจัย 2. จำนวนครั้งงานฝึกอบรมแก่     สังคม/ปี 80  80   80    80    80 4    6      8     10    10 1. ส่งเสริมงานวิจัยใน คณะทั้งทุนภายในและ ภายนอก 2. จัดการฝ