บทความ

พฤติกรรมของนักเผด็จการ จา่กผลงานวิจัยและการสังเกตุ

·  ผลการวิจัยของโรคนักเผด็จการของนายเจมส์ ฟอลเลน พบว่านักเผด็จการมีพฤติกรรมทั่วไปที่ผิดปรกติจากผู้อื่นดังนี้ ก.เป็นคนมีเสน่ห์มีความเฉลียวฉลาด มีความกระหยิ่มยิ้มย่องและมีความเป็นอิสระ มีพลังทางเพศที่ล้นเหลือ ข. มีจิตใจที่เลื่อนลอย ค. เป็นคนเจ้าโกหกพกลมคำโต ง. ไร้ความเมตตา,ปรานี ชอบใช้ความรุนแรงป่าเถื่อน จ. มึีความกระหายอำนาจไม่มีสิ้นสุด แต่จากการสังเกตผู้คนในสังคม พบว่าคนที่มีลักษณะนิสัยเอนเอียงหรือค่อนไปทางเผด็จการจะมีลักษณะทั่วไปดังนี้ ก. เห็นใจตนเอง แต่ไม่เห็นใจคนอื่น ไม่สนใจส้งคม ข. เอาใจคนเบื้องสูง ก้าวร้าวเหยียมหยาม ข่มขู่คนที่ต่ำกว่า ค. ชอบประจบสอพลอ หรือช่างฟ้องใส่ร้ายใส่ความ ง. ติดวัตถุนิยม และอำนาจนิยม จ. เป็นคนหน้าไหว้หลังหลอก ไม่จริงใจ ฉ. มีพฤติกรรมแบบศรีธนญชัย เอาตัวรอดไปเรื่อยๆ ช. เล่นพรรคเล่นพวก ชอบระบบอุปถัมภ์ ซ. เอาดีใส่ตัว เอาชั่วใส่คนอื่น ฌ. ชอบให้คนอื่นฟังตน แต่ไม่นิยมฟังคนอืื่น ไม่ใส่ใจกับปัญหาของคนอื่น มองผู้เห็นต่างเป็นศัตรู แต่ไม่มองว่าเป็นผู้ชี้ขุมทรัพย์ ญ. ไม่ชอบคนที่เด่นกว่าตน ชอบให้ลูกน้องทำตามแบบบงการ ฎ. ไม่ค่อยมีเพื่อน หากมีเพื่อนจะม

140 วิธีในการปฏิบัติตนเพื่อบทบาทภาวะผู้นำใหม่ โดย ปาม ฟ๊อกซ์ โลนริน

1. กำหนดตัวเองให้อยู่ในฐานะผู้ประสบความสำเร็จ     1.1 ต้องยอมรับบทบาทภาวะผู้นำใหม่ที่เป็นงานใหญ่ด้วยบรรยากาศที่หนักหนาด้วยแรงสนับสนุนที่น้อยมาก     1.2 หากคุณมีปัญหาส่วนบุคคลในการแก้ปัญหาสามเดือนข้างหน้าก่อนที่คุณเริ่มต้น     1.3 การสูญเสียงาน มีปัญหาที่แก้ไม่ได้สมบูรณ์ที่คุณใช้ตลอดเวลา มากกว่าการแก้ปัญหาที่คุณใช้เพียงครึ่งเดียว     1.4 ก่อนคุณเริ่มต้นทำงาน จงค้นหาเทคโนโลโยีในการสื่อสารที่ใช้กับบริษัทใหม่     1.5 วิทยาการที่ใช้สมองพิสูจน์ว่าไม่มีสิ่งใดที่ใกล้เคียงกับพลังสมองอย่างมาก จงใช้เส้นโค้งแห่งการเรียนรู้     1.6 การใส่ใจกับทีมงานขั้นพื้นฐานสำหรับเดือนแรกหรือเดือนสอง สิ่งเหล่านั้นจำเป็นต้องมีประสบการณ์ที่คุณจะให้คุณค่ากับมัน     1.7 อย่าสู้กับไฟ     1.8 เริ่มต้นบทบาทผู้นำใหม่ ด้วยการริเริ่มคิดด้วยตนเอง ไม่ใช่ใครมากำหนด     1.9 พิจารณาตามกฎ ตัดสินใจด้วยตัวคุณเอง จงปฏิบัติ,สังเกต และสะท้อนภาพ

วิทยาลัยทองสุข: บริการทางวิชาการแก่สังคม เรื่อง "ประชาธิปไตยอัจฉริยะ"

ประชาธิปไตยอัจฉริยะ   โดย ผศ.ดร.ทวิพันธ์ พัวสรรเสริญ                            เนื่องจากการปกครองแบบประชาธิปไตยของไทยเกิดขึ้นเมื่อกลุ่มผู้ก่อการคณะราษฎร์ได้ทำการยึดอำนาจการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นการปกครองประชาธิปไตยเมื่อวันที่   24   มิถุนายน   2475      ในสมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่   7        โดยพระองค์ทรงมีพระวิสัยทัศน์ที่ยาวไกลว่าพระองค์ปรารถนาจะให้ประชาธิปไตยกับปวงชนชาวไทยอยู่แล้ว      แต่ทว่าทรงเล็งเห็นว่าประชาชนไทยยังไม่พร้อมต่อการปกครองแบบประชาธิปไตย           เมื่อกลุ่มคณะราษฎร์ซึ่งมีกลุ่มจากข้าราชการทหาร , ตำรวจ , และพลเรือนซึ่งได้เห็นความเจริญรุ่งเรืองของอนารยะประเทศต่างปรารถนาที่จะเจริญรอยตาม            แต่ประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศยังขาดการเรียนรู้แบบประชาธิปไตย หรือการมีจิตสำนึกแบบประชาธิปไตย ซึ่งหมายความว่าประชาชนคนไทยส่วนใหญ่ยังไม่มีความพร้อม         พระองค์จึงทรงมีพระสุนทรพจน์ตอนหนึ่งที่ว่า     “ ข้าพเจ้ามีความยินดีและเต็มใจที่จะมอบอำนาจของข้าพเจ้าที่มีอยู่แต่เดิมให้กับปวงชนชาวไทย       แต่ข้าพเจ้าจะไม่ยินยอมสละอำนาจให้แก่ก