บทความ

ตัวแบบลีลาในการอำนวยความสะดวก (Faciltiation styles model)

              นายจอห์น เฮรอน ได้ชี้ชัดความแตกต่างระหว่างปัจจัย 6 ประการที่ใช้วิเคราะห์ในปฏิสัมพันธ์ระหว่างลูกค้าและผู้สนับสนุนช่วยเหลือ   เฮรอนได้นิยามคำว่าตัวแปรสอดแทรก (intervention)ว่าคือสิ่งที่กำหนดพฤติกรรมที่แสดงออกในทางคำพูดและ ที่ไม่ใช่การแสดงออกทางคำพูดซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของบริการของนักปฏิบัติการที่มีต่อลูกค้า (2001) ประวัติจุดกำเนิดของกรอบความคิดลีลาการสนับสนุนช่วยเหลือ               จอห์น เฮรอนคือผู้บุกเบิกในการส่งเสริมของวิธีการวิจัยแบบมีส่วนร่วมสาขาวิชารัฐศาสตร์  เฮรอนเป็นผุ้มีชื่อเสียงในผลงานของเขาและเป็นผู้กำหนดลีลาการอำนวยความสะดวกในสองประเภทด้วยกน 6 ประการ         1. ตัวแปรสอดแทรกในอำนาจหน้าที่ (authoritative intervention) นักปฏิบติการใช้บทบาทที่โดดเด่นในบทบาทการสนับสนุนช่วยเหลือ การแสดงความรับผิดชอบในการประพฤติปฏิบัติต่อลูกค้า            1.1 ตัวแปรสอดแทรกเชิงพรรณา (prescriptive intervention) ลูกค้าทางตรงโดยการให้คำแนะนำและกำหนดทิศทาง            1.2 ตัวแปรสอดแทรกเชิงข้อมุลข่าวสาร (informative intervention) คือสิ่งแสวงหาในการให้ความรู้,ข้อมุลข่าวสาร และการให้ความสำคั

แบบฟอร์มในการประเมินผลการฝีกอบรม ตามแนวของ Unesco

รูปภาพ
Example Training Course Evaluation Form Thank you for completing this confidential evaluation questionnaire.   Your anonymous feedback will be used in planning future courses. 1. Training course objectives Please tick to what extent you feel the training module objectives were achieved. 1=not achieved   2=to some extent 3=fully achieved After completing this Media Training Course, I am able to: 1 2 3 1.1    Select and conduct a needs analysis process 1.2    Develop a training course, specifying general aims and objectives, content, training modules and program timetable 1.3    Design training modules that consist of training techniques appropriate for achieving desired learning objectives 1.4    Establish a climate to facilitate learning