บทความ

รายชื่อ ผู้บริหารองค์การ โครงการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย

  คณะกรรมการระดับผู้บริหารเพื่อกำกับองค์การ (Steering Committee) 1. ผศ.ดร.ทวิพันธ์ พัวสรรเสริญ ผู้ริเริ่มโครงการและผู้บริหารคณะกรรมการกำกับโ ครงการเสริมสร้างขีดความสามารถแ ละ ศักยภาพเพื่อการแข่งขัน email: boonpengsaepua999@yahoo.com 2.ผศ.วัลลภ นิมมานนท์ ผู้บริหารคณะกรรมการกำกับโครงการขีดความสามารถและศักยภาพเพื่อการแข่งขันสายงานวิทยาลัย กรุงเทพสุวรรณภูมิ email: vnimrit@hotmail.com 3. นายศักดิ์ชาย ตัน ผู้บริหารคณะกรรมการกำกับโครงการขีดความสามารถและศักยภาพเพื่อการแข่งขันสายงานภาคเอกชน แถบตะวันออก (ในนามบริษัท Total Qualinet) email. totalqualinet@yahoo.com 4. นางวารี ศรีภิรมย์ ผู้บริหารคณะกรรมการกำกับโครงการขีดความสามารถและศักยภาพเพื่อการแข่งขันสายงานภาคเอกชนแถบส่วนกลาง (ในนามบริษัท Executive Plus) email. waree@Executiveplus.co.th 5. ส่วนประธานที่ปรึกษา คือ ศจ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ (กำลังทาบทาม)  คณะกรรมการบริหารโครงการ และประสานงานทีมโครงการ   6. ผศ.ดร.วิสูตร หวังวรวุฒิ ผู้ประสานงานโครงการขึดความสามารถและศักยภาพเพื่อการแข่งขันสายงานวิจัยภาค รัฐ  7. ดร.มาริษ คุณาก

แรงผลักดันที่กำหนดการแข่งขัน

              ภาพรวมของพลังผลักดัน 5 ประการแตกต่างไปตามประเภทอุตสาหกรรม  ในตลาดที่เกี่ยวกับการบินเชิงพาณิชย์  มีการขับเคี่ยวอย่างดุเดือดระหว่างผู้ผลิตเครื่องบินที่มีความโดดเด่น และเครื่องบินโบอิ้ง  และอำนาจในการเจรจาต่อรองของสายการบินที่มีอำนาจใหญ่โตมีความเข้มแข็ง  ในขณะที่มีการคุกคามเกี่ยวกับช่องทางในการเข้าสนามบิน  และอำนาจของผู้จัดหาสินค้าที่ดีกว่า  ในอุตสาหกรรมภาพยนตร์   การขยายรูปแบบของมหรสพที่ทดแทน และอำนาจของผู้ผลิตภาพยนตร์ และผู้จัดจำหน่ายเป็นบุคคลที่จัดหาภาพยนตร์ เป็นจุดนำภาพยนตร์เข้าฉายซึ่งเป็นสิ่งสำคัญ             แรงผลักดันจากการแข่งขันที่แข็งแรงที่สุดหรือแรงผลักดันที่พิจารณาความสามารถในการทำกำไรของอุตสาหกรรม และกลับมาเป็นสิ่งสำคัญมากที่สุดในการกำหนดกลยุทธ์  หรือแรงผลักดันที่พิจารณาว่ามีความสามารถในการทำกำไรของอุตสาหกรรมหนึ่ง ๆและกลับมาเป็นสิ่งสำคัญมากที่สุดในการกำหนดกลยุทธ์  อย่างไรก็ตาม แรงผลักดันที่โดดเด่นก็ไม่ค่อยเห็นประจักษ์เท่าใดนัก             ตัวอย่างเช่น  ถึงแม้ว่้าการแข่งขันอย่างรุนแรงคือมักจะดุเดือดเลือดพล่านในอุตสาหกรรมสินค้า มันอาจจะไม่เป็นปัจจัยในข้อจำกัดใน

แรงผลักดัน 5 ประการสำหรับการแข่งขันที่ก่อรูปกลยุทธ์

รูปภาพ
                         จากตำราในบทที่หนึ่งนั้น ไมเคิล พอร์ตเตอร์ ได้ให้ทัศนะแง่มุมเกี่ยวกับงานของนักกำหนดกลยุทธ์ (strategegist) ว่าต้องเข้าใจและแก้ปัญหาเกี่ยวกับการแข่งขันได้   เขามีทัศนะว่าผู้บริหารมักนิยามการแข่งขันในวงแคบ ราวกับว่ามีเพียงแต่คู่แข่งขันโดยตรงในปัจจุบันนี้เท่านั้น อย่างไรก็ตามการแข่งขันเพื่อแสวงหากำไรมีนอกเหนือจากการขับเคี่ยวอุตสาหกรรมที่มีอยู่ได้แก่แรงผลักดันเพื่อการแข่งขันสี่ประการอันได้แก่ ลูกค้า,ผู้จัดหาสินค้า (suppliers), ผู้มีช่องทางการแข่งขันที่มีศักยภาพ (potential entrancts) และสินค้าทดแทน (substitute products)  การขับเคี่ยวที่ขยายตัวเป็นผลมา  จากพลังผลักดัน 5 ประการที่กำหนดโครงสร้างของอุตสาหกรรม และกำหนดธรรมชาติของปฏิสัมพันธ์เพื่อการแข่งขันภายในอุตสาหกรรมใดอุตสาหกรรมหนึ่ง              สิ่งที่แตกต่างในแต่ละอุตสาหกรรมอาจปรากฎเป็นเพียงผิวเผิน  แรงขับเคลื่อนที่อยู่ภายใต้ของความสามารถในการทำกำไรจึงเป็นสิ่งเดียวกัน ตัวอย่างเช่นอุตสาหกรรมยานยนต์ระดับโลกปรากฎว่าไม่มีอะไรที่เป็นเรื่องทั่วไปเกี่ยวกับตลาดระดับโลกสำหรับชิ้นงานที่เป็นศิลปะ หรืออุตสาหกรรมส่งมอบการรั

กระบวนทัศน์รูปแบบใหม่ในการจัดการภาครัฐ

      การบริหารและการจัดการภาครัฐ - เรียบเรียงและถอดความจาก owen hughes          มีข้อโต้แย้งว่าการจัดการภาครัฐแนวใหม่ เป็นการจัดการภาครัฐเป็นกระบวนทัศน์ใหม่หรือไม่  มีนักวิชาการหลายท่านที่ยอมรับการปฏิรูปว่าเป็นกระบวนทัศน์ใหม่  นักวิชาการดังกล่าวได้แก่ osborne และ Gaebler,1992 ; Barzelay,1992;Behn,1998 และท่านอื่นอีกลายท่าน  มีนักวิชาการท่านอื่น ๆ ที่โต้แย้งการเปลี่ยนแปลงกระบวนทัศน์แบบใหม่ในการจัดการภาครัฐ Hood,1995,1996;Lynn,1997; Politt,1990  เป็นที่โต้แย้งว่าการใช้ความหมายของคำศัพท์แบบพื้น ๆ หรือการใช้เป็นการทั่วไปเป็นผลงานของคูนส์ (1970)   คำศัพท์ว่า "กระบวนทัศน์" เป็นคำที่เหมาะสมทั้งตัวแบบของการบริหารและการปฏิรูปการจัดการภาครัฐซึ่งมีสิ่งเชื่อมโยงโดยทั่วไปมากที่สุดร่วมกันในฐานะการจัดการภาครัฐแบบใหม่          บางท่านมีทัศนะว่ากระบวนทัศน์ (Paradigm) คือสิ่งกีดขวางในการก้าวกระโดด, จำเป็นต้องได้รับการยอมรับทั้งผู้ปฏิบัติการด้านวิชาการทั้งหลาย  วิถีทางในการมองโลกแบบถาวรไม่ว่ามากหรือน้อย มีกระบวนทัศน์ที่แข่งขันในสาขาที่เหมือนกัน          กระบวนทัศน์ขั้นพื้นฐานของการจัดก

ยุคแห่งการเปลี่ยนแปลงไปสู่การจัดการภาครัฐ

            ได้มีการเปลี่ยนแปลงในการจัดการภาครัฐของประเทศที่ก้าวหน้ามาแล้ว  ตัวแบบเกี่ยวกับการบริหารรัฐกิจแบบเก่าได้เข้ามามีอิทธิพลครอบงำถึงศตวรรษที่ยี่สิบ และได้มีการเปลี่ยนแปลงตั้งแต่กลางปี ค.ศ.1980 เป็นการจัดการภาครัฐที่เน้นตลาด และมีความยืดหยุ่น  สิ่งนี้มิได้เป็นสาระของการปฏิรูปอย่างง่ายดายหรือเป็นการจัดการเพียงเรื่องสำคัญเล็กน้อยในลีลาของการจัดการเท่านั้น แต่เป็นการเปลี่ยนแปลงในบทบาทของรัฐบาลในสังคม และความสัมพันธ์ระหว่างรัฐบาลและพลเมือง   การบริหารรัฐกิจแบบเก่าได้ลดความน่าเชื่อถือทางทฤษฎีและทางปฏิบัติการ และมีการปรับปรุงรูปแบบใหม่ของการจัดการภาครัฐ (public management) เป็นปัจจัยนำไปสู่กระบวนทัศน์แนวใหม่ในภาครัฐ              กระบวนทัศน์แนวใหม่ได้หยิบยกเอาสิ่งท้าทายโดยตรงต่อสิ่งหลากหลายของสิ่งที่ได้ยอมรับว่าเป้นหลักการพื้นฐานของการบริหารรัฐกิจแบบเก่า   ประการแรก ของการบริหารรัฐกิจแบบเก่าคือระบบราชการ (bureaucracy) ซึ่งเป็นสิ่งที่รัฐบาลควรจัดองค์การตามหลักสายการบังคับบัญชา,ยึดหลักระบบราชการซึ่งเป็นการวิเคราะห์ระบบการแบบคลาสสิคโดยนักสังคมวิทยาชาวเยอรมันที่ชื่อแม๊ก เวเบอร์   แม้ว่าม

โครงสร้างหลักสูตรในการศึกษาปริญญาโทวิทยาลัยเทเรซา นานาชาติ

ผู้สนใจศึกษาหลักสูตรรายวิชาที่เรียนในหลักสูตรปริญญาโทรัฐประศาสนศาสตร์ รุ่นแรก   เพื่อปรับตัวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน            ๑) กลุ่มวิชาปรับพื้นฐาน สำหรับผู้ที่ไม่ได้จบการศึกษาในระดับปริญญาตรีทางรัฐศาสตร์ หรือรัฐประศาสนศาสตร์ จะต้องศึกษาวิชาปรับพื้นฐานโดยไม่นับหน่วยกิต และและสอบให้ได้ระดับผ่าน ( P) 1.   ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์ ( 3) 2.   ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในบริบทอาเซียน ( 3) ๒) กลุ่มวิชาเอกบังคับ ( 15 หน่วยกิต) 1.   การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์( 3) 2.   สถิติสำหรับการวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์( 3) 3.   สัมมนาการเมือง,สังคมและเศรษฐกิจของไทย( 3) 4.   ทฤษฎีองค์การและพฤติกรรมภาครัฐ( 3) 5.   การบริหารทรัพยากรมนุษย์และองค์การ   ( 3) ๒)กลุ่มวิชาเลือก แผน ก ให้เลือกเรียน 3 วิชา 9 หน่วยกิต                                แผน ข ให้เลือกเรียน 5 วิชา 15 หน่วยกิต                   1. กฎหมายมหาชน       ( 3)         2. การบริหารการพัฒนา ( 3)        3. การคลังสาธารณะและงบประมาณ ( 3)        4. สัมมนาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และการประเมิน            ผ