บทความ

กรอบแนวคิด 7 ประการของแม๊คเคนซี่

           กรอบคิด 7 ประการของแม๊คเคนซี่  ตัวแบบที่ให้ข้อคิดฝ่ายจัดการ      จัดองค์การภาพรวมของหน่วยงาน        และจัดการประสิทธิผลในหนทาง      ปัจจัยพิจารณาร่วมกันดำเนินการ          บริหารเจ็ดปัจจัยโดยตามอย่าง      เพื่อสำเร็จกลยุทธ์เป็นแนวทาง           ที่จัดวางปัจจัยพี่งพิงกัน            จุดกำเนิด 7's ที่กล่าวขาน           ศิลป์ของการจัดการญี่ปุ่น (The Art of japanese management)       โดยพาสคาล,อาทอสคิดเป็นทุน           เสริมค่าคุณกับอุตสาหกรรมในโรงงาน      และปีเตอร์,วอเตอร์แมนได้สำรวจ         อย่างยิ่งยวดความเป็นเลิศบริหาร      จึงประชุมนักวิชาการทั้งสี่ท่าน              จึงก่อการความคิด 7 ปัจจัย            หนึ่งคือ แบ่งปันค่านิยม (Shared Value) การทำงาน   หมายถึงการกำหนดในจุดยืน      และความเชื่อ,ทัศนคติไม่เป็นอื่น           เพื่อยืนพื้นมั่นคงไมแปรผัน      สองคือ กลยุทธ์ (strategy) เน้นวางแผน    จัดสรรแปลนทรัพยากรหายากนั้น      เพื่อบรรลุเป้าหมายกำหนดกัน              การแข่งขัน,สิ่งแวดล้อมและลูกค้า                      สามคือ โครงสร้าง (structure) ที่วางกัน ที

หลักการ 14 ข้อของอังรี ฟาโยล (Henry Fayol) ตอนที่ 1

              จาก หลักการบริหารสิบสี่ข้อ     เพื่อเติมต่อนำใช้ในทุกสถาน        เหมือนตำรากับข้าวเปิดใช้งาน        ที่ใช้การเครื่องปรุงอย่างถูกต้อง        เหมาะกับการบริหารของเบื้องบน     จัดการคนตามหลักที่เกี่ยวข้อง        อันเป็นหลักการจัดการตามครรลอง   หน้าที่ของผู้บริหารต้องจดจำ                หนึ่ง หลักแบ่งงานกันทำ อย่างถูกต้อง เน้นช่ำชองชำนาญเฉพาะด้าน        เพื่อยินยอมให้มีประสบการณ์         เพื่อปรับปรุงทักษะอย่างต่อเนื่อง        และส่งเสริมผลผลิตของบุคคล        ดีกว่าคนเหมางานไม่ได้เรื่อง        เปรียบกันแล้วแบ่งงานผลประเทือง   ผลงานเฟื่องมากกว่าสามเท่าตัว                สอง หลักอำนาจหน้าที่ ที่หนุนเนื่อง หมายถึงเรื่องสิทธิออกคำสั่ง        และอำนาจโน้มน้าวการเหนี่ยวรั้ง      ทุกคนตั้งใจที่ปฏิบัติตาม        ต้องสมดุลย์หน้าที่,รับผิดชอบ         อยู่ในกรอบยอมรับตามวิถี        ไม่ก้ำเกินต่อกันผิดวิธี                  สมดุลย์ดีไร้มีช่องว่างกัน                สาม หลักการวินัย ตามหน้าที   ลูกน้องดีต้องเชื่อฟังในหัวหน้า        แต่สำคัญที่ผู้นำมีทีท่า                  ต้อง

กลอนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ตอนที่ 62

                  ปัจจุบันรัฐธรรมนุญที่เป็นแม่บทมีจุดอ่อนหลายประการที่ควรแก้ไขเพื่อให้รัฐธรรมนุญเป็นรัฐธรรมนูญที่เป็นประชาธิปไตย  ซึ่งจากเวลา 5 ปีที่ผ่านมาได้แก่             1. รัฐธรรมนุญในปี 2550 เป็นรัฐธรรมนุญที่มาจากการรัฐประหาร  การกล่าวอ้างว่าที่จำเป็นต้องรัฐประหารเพื่อแก้ไขปัญหาผู้นำที่มีคะแนนเสียงมากกว่า หรืออ้างว่าเป็นเผด็จการรัฐสภานั้น เป้นเรื่องที่ฟังไม่ขึ้น  เพราะผู้นำมีประชาชนส่วนใหญ่เขาเลือกมา ดังนั้นย่อมมีความชอบธรรมในการบริหารงาน และเป็นความต้องการของประชาชน แต่การปฏิวัติรัฐประหารนั้นประชาชนไม่ได้ส่งเสริมให้มาทำการรัฐประหาร             2. รัฐธรรมนุญในปี 2550 มีลักษณะเขียนขึ้นมาเพื่อมุ่งกีดกันอดีตผู้นำเพียงคนเดียว แต่ไม่ได้เขียนรัฐธรรมนุญเพื่อประชาชนให้กับคนทั้งประเทศ  แม้แต่มติมหาชนว่าเห็นชอบต่อการเปลี่ยนรัฐธรรมนูญ ก็ยังใช้อำนาจที่ใช้ปลายกระบอกปืนบังคับให้ราษฎรต้องยอมรับ  ซึ่งเป็นวิธีการที่ไม่เป็นประชาธิปไตย             3. รัฐธรรมนุญในปี 2550 มีลักษณะการซ่อนเร้นอำนาจ เช่นการเปิดให้องค์กรอิสระสามารถชี้เป็นชี้ตาย หรือแม้กระทั่งการให้อำนาจตุลาการสามารถยุบพรรคการเมืองได

การเสริมสร้างวัฒนธรรมการทำงานเป็นทีม โดยซุูซาน เอ็ม ฮีทฟิลด์

                     การส่งเสริมทำงานเป็นทีมคือการสร้างวัฒนธรรมการทำงานเน้นคุณค่าการทำงานร่วมกัน ในสภาพแวดล้อมการทำงานเป็นทีม     คนเรามักเข้าใจและเชื่อว่าการคิด,การวางแผน,การตัดสินใจและการปฏิบัติงานจะดีกว่าหากมีการทำงานร่วมกัน คนรู้จักและยังซึมทราบกับ ความเชื่อที่ว่า "ไม่มีใครในพวกเราจะสมบูรณ์ดีพร้อมทั้งหมด"                       เป็นการยากที่จะหาสถานที่ทำงานที่เป็นแบบอย่างการทำงานเป็นทีม ในประเทศอเมริกาสถาบันของเราเช่นโรงเรียน , โครงสร้างครอบครัวของเราและของเราเน้นงานอดิเรกที่เน้นชัยชนะเป็นที่ดีที่สุดและเพื่อให้ คนงานไต่ระดับที่สูงขึ้น   คนงานแทบจะไม่ได้เพิ่มสภาพแวดล้อมที่เน้นการทำงานเป็นทีมและให้ความร่วมมืออย่างแท้จริง                      องค์กรกำลังปฏิบัติงานกับผู้มีค่านิยม,ความคิดภูมิหลังและประสบการณ์ที่หลากหลาย เรามีหนทางที่จะเดินหน้าไปก่อนที่ทีมงานจะมีค่านิยมในการทำงานเป็นทีมจะมีบรรทัดฐานเดียวกัน                       อย่างไรก็ตาม คุณสามารถสร้างการทำงานเป็นทีมวัฒนธรรมโดยทำเพียงสิ่งเล็กน้อยที่ถูกต้อง เป็นที่ยอมรับว่าพวกเขากำลังสิ่งที่ยาก แต่มีความผูกพันและชื่

จุดอ่อนรัฐธรรมนูญที่ควรแก้ไขในทางปฏิบัติ

                    ปัจจุบันรัฐธรรมนุญที่เป็นแม่บทมีจุดอ่อนหลายประการที่ควรแก้ไขเพื่อให้รัฐธรรมนุญเป็นรัฐธรรมนูญที่เป็นประชาธิปไตย  ซึ่งจากเวลา 5 ปีที่ผ่านมาได้แก่             1. รัฐธรรมนุญในปี 2550 เป็นรัฐธรรมนุญที่มาจากการรัฐประหาร  การกล่าวอ้างว่าที่จำเป็นต้องรัฐประหารเพื่อแก้ไขปัญหาผู้นำที่มีคะแนนเสียงมากกว่า หรืออ้างว่าเป็นเผด็จการรัฐสภานั้น เป้นเรื่องที่ฟังไม่ขึ้น  เพราะผู้นำมีประชาชนส่วนใหญ่เขาเลือกมา ดังนั้นย่อมมีความชอบธรรมในการบริหารงาน และเป็นความต้องการของประชาชน แต่การปฏิวัติรัฐประหารนั้นประชาชนไม่ได้ส่งเสริมให้มาทำการรัฐประหาร             2. รัฐธรรมนุญในปี 2550 มีลักษณะเขียนขึ้นมาเพื่อมุ่งกีดกันอดีตผู้นำเพียงคนเดียว แต่ไม่ได้เขียนรัฐธรรมนุญเพื่อประชาชนให้กับคนทั้งประเทศ  แม้แต่มติมหาชนว่าเห็นชอบต่อการเปลี่ยนรัฐธรรมนูญ ก็ยังใช้อำนาจที่ใช้ปลายกระบอกปืนบังคับให้ราษฎรต้องยอมรับ  ซึ่งเป็นวิธีการที่ไม่เป็นประชาธิปไตย             3. รัฐธรรมนุญในปี 2550 มีลักษณะการซ่อนเร้นอำนาจ เช่นการเปิดให้องค์กรอิสระสามารถชี้เป็นชี้ตาย หรือแม้กระทั่งการให้อำนาจตุลาการสามารถยุบพรรคการเมือง

การเปลี่ยนแปลงรัฐธรรมนูญเพื่อประชาธิปไตย

                          การต่อสู้ดิ้นรนของบุคคลบางกลุ่มเพื่อขัดขวางการเปลี่ยนแปลงการปกครองแบบประชาธิปไตยนั้นสะท้อนถึงแนวคิดของการไม่ยอมรับการเปลี่ยนแปลงกับปัญหาที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน จริงๆแล้วกลุ่มต่าง ๆที่เรียกร้องในลักษณะคล้ายคลึงกันน่าจะมานั่งจับเข่าคุยกัน ในลักษณะของการใช้เวทีเพื่อแสดงการสนทนาเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดกัน  มิใช่มีลักษณะพูดกันคนละฝ่าย คิดกันไปกันคนละทางย่อมไม่สามารถจะทำให้เกิดความเข้าใจร่วมกันได้   ประชาธิปไตยต้องอาศัยความจริงใจในการแก้ปัญหาร่วมกัน คนไทยเราน่าจะคุยกันได้เพื่อปรับทัศนคติต่อกัน มิใช่เป็นทำนองของการยั่วยุหรือข่มขู่ให้เกิดความแตกแยกทางความคิด  ซึ่งเป็นสิ่งที่แปลกประหลาดในกลุ่มบุคคลที่ปรารถนาประชาธิปไตยแต่มีความคิดในทางปฏิบัติแตกเป็นสองขั้วนั้น  การที่มีผู้นำเพียงไม่กี่คนออกมาปลุกเร้า หรือโจมตีทั้ง ๆ ที่ไม่รู้ว่าสิ่งที่โจมตีนั้นเป็นเรื่องจริงหรือเรื่องเท็จ  ทำให้สังคมเกิดความกังขาและงุนงงสับสนและไม่เข้าใจประเด็นเนื้อหา กรอบการมองเรื่องประชาธิปไตยที่แตกต่างนั้นมิใช่เป็นเรืองที่ผิดปรกติธรรมดา  และควรยึดมั่นในหลักการประชาธิปไตยไม่ควรติดยึดตัวบุคคล   หากส่วนร

กลอนเกี่ยวกับพฤติกรรมองค์การตอนที่ 2

                   องค์การก่อกำเนิดเพราะเหตุใด    เนื่องเพราะในความสามารถมีจำกัด              ทั้งทางด้านกายภาพ,จิตใจดังเด่นชัด  จำต้องจัดทำงานแบบร่วมกัน              องค์การนั้นเป็นกลไกผ่านมนุษย์        ผสมชุดการทำงานที่สร้างสรรค์              ร่วมประสานเสริมพลังเพื่อแบ่งปัน      จากจัดสรรคนจำนวนมากมาช่วยกัน                    องค์การนั้นมิอาจทำเหมือนดังฝัน หากทำกันเพียงคนเดียวเหมางานหมด              ประสิทธิภาพผลผลิตที่กำหนด           กำลังลดถดถอยเพราะแรงใจ              ความต้องการจัดองค์การจึงเกิดขึ้น     มิใช่อื่นเป็นเรื่องเก่ามาเล่าใหม่              จากประวัติโครงสร้างอย่างก้าวไกล     มุ่งการใช้แรงงานและทำงาน                   จากตรรกะต่อเติมเสริมกันไว้        ก่อเกื้อในนวัตกรรมที่เกิดขึ้น              เป็นผลิตภัณฑ์ยานยนต์ไม่เป็นอื่น      ขับไหลลื่นเพราะพลังแสงอาทิตย์              ทั้งแผ่นดิสก์วิดีโอดิจิตอล                ตกตะกอนเป็นทีวีที่เรืองฤทธิ์              จอพลาสมาสวยงามดังวิจิตร             ผู้ค้นคิดคือมนุษย์สุดวิเศษ                   คอมพิวเตอร์อุปกรณ์ที่ค้นค