บทความ

กรอบแนวคิด 7 ประการของแม๊คเคนซี่

           กรอบคิด 7 ประการของแม๊คเคนซี่  ตัวแบบที่ให้ข้อคิดฝ่ายจัดการ      จัดองค์การภาพรวมของหน่วยงาน        และจัดการประสิทธิผลในหนทาง      ปัจจัยพิจารณาร่วมกันดำเนินการ          บริหารเจ็ดปัจจัยโดยตามอย่าง      เพื่อสำเร็จกลยุทธ์เป็นแนวทาง           ที่จัดวางปัจจัยพี่งพิงกัน            จุดกำเนิด 7's ที่กล่าวขาน           ศิลป์ของการจัดการญี่ปุ่น (The Art of japanese management)       โดยพาสคาล,อาทอสคิดเป็นทุน           เสริมค่าคุณกับอุตสาหกรรมในโรงงาน      และปีเตอร์,วอเตอร์แมนได้สำรวจ         อย่างยิ่งยวดความเป็นเลิศบริหาร     ...

หลักการ 14 ข้อของอังรี ฟาโยล (Henry Fayol) ตอนที่ 1

              จาก หลักการบริหารสิบสี่ข้อ     เพื่อเติมต่อนำใช้ในทุกสถาน        เหมือนตำรากับข้าวเปิดใช้งาน        ที่ใช้การเครื่องปรุงอย่างถูกต้อง        เหมาะกับการบริหารของเบื้องบน     จัดการคนตามหลักที่เกี่ยวข้อง        อันเป็นหลักการจัดการตามครรลอง   หน้าที่ของผู้บริหารต้องจดจำ                หนึ่ง หลักแบ่งงานกันทำ อย่างถูกต้อง เน้นช่ำชองชำนาญเฉพาะด้าน        เพื่อยินยอมให้มีประสบการณ์         เพื่อปรับปรุงทักษะอย่างต่อเนื่อง        และส่งเสริมผลผลิตของบุคคล        ดีกว่าคนเหมางานไม่ได้เรื่อง        เปรียบกันแล้วแ...

กลอนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ตอนที่ 62

                  ปัจจุบันรัฐธรรมนุญที่เป็นแม่บทมีจุดอ่อนหลายประการที่ควรแก้ไขเพื่อให้รัฐธรรมนุญเป็นรัฐธรรมนูญที่เป็นประชาธิปไตย  ซึ่งจากเวลา 5 ปีที่ผ่านมาได้แก่             1. รัฐธรรมนุญในปี 2550 เป็นรัฐธรรมนุญที่มาจากการรัฐประหาร  การกล่าวอ้างว่าที่จำเป็นต้องรัฐประหารเพื่อแก้ไขปัญหาผู้นำที่มีคะแนนเสียงมากกว่า หรืออ้างว่าเป็นเผด็จการรัฐสภานั้น เป้นเรื่องที่ฟังไม่ขึ้น  เพราะผู้นำมีประชาชนส่วนใหญ่เขาเลือกมา ดังนั้นย่อมมีความชอบธรรมในการบริหารงาน และเป็นความต้องการของประชาชน แต่การปฏิวัติรัฐประหารนั้นประชาชนไม่ได้ส่งเสริมให้มาทำการรัฐประหาร             2. รัฐธรรมนุญในปี 2550 มีลักษณะเขียนขึ้นมาเพื่อมุ่งกีดกันอดีตผู้นำเพียงคนเดียว แต่ไม่ได้เขียนรัฐธรรมนุญเพื่อประชาชนให้กับคนทั้งประเทศ  แม้แต่มติมหาชนว่าเห็นชอบต่อการเปลี่ยนรัฐธรรมนูญ ก็ยังใช้อำนาจที่ใช้ปลายกระบอกปืนบังคับให้ราษฎรต้องยอมรับ  ซึ่งเป็นว...

การเสริมสร้างวัฒนธรรมการทำงานเป็นทีม โดยซุูซาน เอ็ม ฮีทฟิลด์

                     การส่งเสริมทำงานเป็นทีมคือการสร้างวัฒนธรรมการทำงานเน้นคุณค่าการทำงานร่วมกัน ในสภาพแวดล้อมการทำงานเป็นทีม     คนเรามักเข้าใจและเชื่อว่าการคิด,การวางแผน,การตัดสินใจและการปฏิบัติงานจะดีกว่าหากมีการทำงานร่วมกัน คนรู้จักและยังซึมทราบกับ ความเชื่อที่ว่า "ไม่มีใครในพวกเราจะสมบูรณ์ดีพร้อมทั้งหมด"                       เป็นการยากที่จะหาสถานที่ทำงานที่เป็นแบบอย่างการทำงานเป็นทีม ในประเทศอเมริกาสถาบันของเราเช่นโรงเรียน , โครงสร้างครอบครัวของเราและของเราเน้นงานอดิเรกที่เน้นชัยชนะเป็นที่ดีที่สุดและเพื่อให้ คนงานไต่ระดับที่สูงขึ้น   คนงานแทบจะไม่ได้เพิ่มสภาพแวดล้อมที่เน้นการทำงานเป็นทีมและให้ความร่วมมืออย่างแท้จริง                      องค์กรกำลังปฏิบัติงานกับผู้มีค่านิยม,ความคิดภูมิหลัง...

จุดอ่อนรัฐธรรมนูญที่ควรแก้ไขในทางปฏิบัติ

                    ปัจจุบันรัฐธรรมนุญที่เป็นแม่บทมีจุดอ่อนหลายประการที่ควรแก้ไขเพื่อให้รัฐธรรมนุญเป็นรัฐธรรมนูญที่เป็นประชาธิปไตย  ซึ่งจากเวลา 5 ปีที่ผ่านมาได้แก่             1. รัฐธรรมนุญในปี 2550 เป็นรัฐธรรมนุญที่มาจากการรัฐประหาร  การกล่าวอ้างว่าที่จำเป็นต้องรัฐประหารเพื่อแก้ไขปัญหาผู้นำที่มีคะแนนเสียงมากกว่า หรืออ้างว่าเป็นเผด็จการรัฐสภานั้น เป้นเรื่องที่ฟังไม่ขึ้น  เพราะผู้นำมีประชาชนส่วนใหญ่เขาเลือกมา ดังนั้นย่อมมีความชอบธรรมในการบริหารงาน และเป็นความต้องการของประชาชน แต่การปฏิวัติรัฐประหารนั้นประชาชนไม่ได้ส่งเสริมให้มาทำการรัฐประหาร             2. รัฐธรรมนุญในปี 2550 มีลักษณะเขียนขึ้นมาเพื่อมุ่งกีดกันอดีตผู้นำเพียงคนเดียว แต่ไม่ได้เขียนรัฐธรรมนุญเพื่อประชาชนให้กับคนทั้งประเทศ  แม้แต่มติมหาชนว่าเห็นชอบต่อการเปลี่ยนรัฐธรรมนูญ ก็ยังใช้อำนาจที่ใช้ปลายกระบอกปืนบังคับให้ราษฎรต้องยอมรับ...

การเปลี่ยนแปลงรัฐธรรมนูญเพื่อประชาธิปไตย

                          การต่อสู้ดิ้นรนของบุคคลบางกลุ่มเพื่อขัดขวางการเปลี่ยนแปลงการปกครองแบบประชาธิปไตยนั้นสะท้อนถึงแนวคิดของการไม่ยอมรับการเปลี่ยนแปลงกับปัญหาที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน จริงๆแล้วกลุ่มต่าง ๆที่เรียกร้องในลักษณะคล้ายคลึงกันน่าจะมานั่งจับเข่าคุยกัน ในลักษณะของการใช้เวทีเพื่อแสดงการสนทนาเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดกัน  มิใช่มีลักษณะพูดกันคนละฝ่าย คิดกันไปกันคนละทางย่อมไม่สามารถจะทำให้เกิดความเข้าใจร่วมกันได้   ประชาธิปไตยต้องอาศัยความจริงใจในการแก้ปัญหาร่วมกัน คนไทยเราน่าจะคุยกันได้เพื่อปรับทัศนคติต่อกัน มิใช่เป็นทำนองของการยั่วยุหรือข่มขู่ให้เกิดความแตกแยกทางความคิด  ซึ่งเป็นสิ่งที่แปลกประหลาดในกลุ่มบุคคลที่ปรารถนาประชาธิปไตยแต่มีความคิดในทางปฏิบัติแตกเป็นสองขั้วนั้น  การที่มีผู้นำเพียงไม่กี่คนออกมาปลุกเร้า หรือโจมตีทั้ง ๆ ที่ไม่รู้ว่าสิ่งที่โจมตีนั้นเป็นเรื่องจริงหรือเรื่องเท็จ  ทำให้สังคมเกิดความกังขาและงุนงงสับสนและไม่เข้าใจประเด็นเนื้อหา กรอบการมองเรื่องประ...

กลอนเกี่ยวกับพฤติกรรมองค์การตอนที่ 2

                   องค์การก่อกำเนิดเพราะเหตุใด    เนื่องเพราะในความสามารถมีจำกัด              ทั้งทางด้านกายภาพ,จิตใจดังเด่นชัด  จำต้องจัดทำงานแบบร่วมกัน              องค์การนั้นเป็นกลไกผ่านมนุษย์        ผสมชุดการทำงานที่สร้างสรรค์              ร่วมประสานเสริมพลังเพื่อแบ่งปัน      จากจัดสรรคนจำนวนมากมาช่วยกัน                    องค์การนั้นมิอาจทำเหมือนดังฝัน หากทำกันเพียงคนเดียวเหมางานหมด              ประสิทธิภาพผลผลิตที่กำหนด           กำลังลดถดถอยเพราะแรงใจ              ความต้องการจัดองค์การจึงเกิดขึ้น     มิใช่อื่นเป็นเร...